2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title การศึกษาผลกระทบและแนวทางการบริหารจัดการด้านคมนาคมขนส่งสาธารณะในระดับเมืองด้วยแนวคิด Urban Resilience จากวิกฤตการณ์โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา จังหวัดเพชรบูรณ์The Study of Impact and Urban Transportation Managementfrom the Corona Virus Disease 2019 Epidamic Case Study Phetchabun Province 
Date of Distribution 23 November 2023 
Conference
     Title of the Conference งานประชุมวิชาการระดับชาติ โฮมภูมิ ครั้งที่ 5 "โฮมดี มีแฮง" - Well-Being Together 
     Organiser คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
     Conference Place คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
     Province/State ขอนแก่น 
     Conference Date 23 November 2023 
     To 23 November 2023 
Proceeding Paper
     Volume
     Issue
     Page 378-393 
     Editors/edition/publisher ผศ.ดร ธนสิทธิ์ จันทะรี  
     Abstract การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การติดเชื้อโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ในจังหวัดเพชรบูรณ์ และผลกระทบต่อการขนส่งสาธารณะเมืองเพชรบูรณ์ใน 2 ระดับข้างต้น 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบตามแนวคิด Urban Resilience และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการด้านคมนาคมขนส่งสาธารณะในระดับเมืองด้วยแนวคิด Urban Resilience ในพื้นที่กรณีศึกษาให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยประยุกต์แนวคิด Urban Resilience โดย (Lorenzo Chelleri, James J Waters, Marta Olazabaland Guido Minu, 2015) เป็นกรอบทฤษฎีในการวิจัย เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 4 แนวทางได้แก่ 1) การป้องกัน 2) การแก้ไขปัญหา 3) การฟื้นฟู และ 4) การมีส่วนร่วม ข้อมูลการวิจัยมาจากการทบทวนวรรณกรรม ร่วมกับการสำรวจพื้นที่สถานีขนส่งในพื้นที่กรณีศึกษา การสังเกตการณ์ แบบสอบถาม และ การสัมภาษณ์ โดยดำเนิน การกับกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขนส่งสาธารณะและ การสาธารณสุข 2) ผู้ประกอบการและแรงงานที่ทำงานในการขนส่งสาธารณะ และ 3) ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ผู้โดยสารที่ได้รับผลกระทบ ผลการศึกษาพบว่า โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลผลกระทบต่อการคมนาคมขนส่งสาธารณะในระดับ เมืองเพชรบูรณ์มากที่สุดคือ ด้านเศรษฐกิจ รองลงมาคือด้านการเดินทาง และ ด้านสังคมน้อยที่สุด ผู้ที่ได้รับผลกระ ทบมากที่สุด 3 ลำดับได้แก่ ผู้ประกอบการให้บริการด้านการคมนาคมขนส่งขนาดเล็ก ร้อยละ 40 ผู้ประกอบการร้าน ค้าบริเวณสถานีขนส่ง ร้อยละ 80 และผู้ประกอบการให้บริการด้านการคมนาคมขนส่งขนาดใหญ่ ร้อยละ 20 ผลลัพธ์ ประการถัดมา เมื่อวิเคราะห์ผลกระทบข้างต้นตามแนวคิด Urban Resilience พบว่า แนวทางการบริหารจัดการโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในด้านขนส่งสาธารณะ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีจุดเด่นด้านการป้องกันและการมีส่วนร่วมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชน และผู้ประกอบการ แต่การแก้ไขปัญหามีข้อจำกัดด้านการติดต่อประสานงานระหว่าง 
Author
625200010-5 Miss WIRULSUDA THOSUWAN [Main Author]
Architecture Master's Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0