2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ เสียงเอื้อนในเพลงไทย 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 13 มีนาคม 2567 
วารสาร
     ชื่อวารสาร แก่นดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     ISBN/ISSN 2630-0923 
     ปีที่
     ฉบับที่
     เดือน พฤษภาคม-สิงหาคม
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2564 
     หน้า 65-90 
     บทคัดย่อ บทคัดย่อ บทความวิชาการนี้ ผู้เขียนมีความต้องการนำเสนอทัศนะเชิงประวัติศาสตร์ดนตรีไทย ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่คีตศิลป์ไทย โดยเฉพาะการเอื้อน ซึ่งการเอื้อนเป็นส่วนประกอบสำคัญที่สร้างเอกลักษณ์ในการขับร้องเพลงไทย ทว่ามีผู้เสนอ ทัศนะที่เกี่ยวข้องกับการเอื้อนไว้หลากหลาย หนึ่งในนั้นคือทัศนะของนายสุจิตต์ วงษ์เทศ ที่เสนอว่าเพลงขับร้องไทยสมัยกรุงศรีอยุธยานั้นไม่มีเอื้อน และเพลงชับร้องไทยในปัจจุบัน ไม่เป็นที่นิยมเพราะเป็นปฏิปักษ์กับวัฒนธรรมเพลงป๊อป เมื่อทำการศึกษาเอกสารและบันทึกที่เกี่ยวข้องผู้เขียนเห็นว่า การศึกษาในศาสตร์ของคีตศิลป์ไทยจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำความเข้าใจในวิธีการขับร้องอย่างลึกซึ้งและนำความรู้ทางประวัติศาสตร์ศึกษาควบคู่ ผู้เขียนจึงขอเสนอบทวิเคราะห์ ในบทความนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาพัฒนาการและการตำรงอยู่ของเอื้อนในสมัยกรุงศรีอยุธยา 2. นำเสนอการเปลี่ยนผ่านของวัฒนธรรมการขับร้องไทยในสังคมร่วมสมัย โดยพบว่าการเอื้อนเป็นส่วนหนึ่งของขนบการชับร้องไทยมีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ อาทิ การสวดของพระสงฆ์ และการขับร้องพื้นบ้าน และการปรับตัวของการเอื้อนไทยเพื่อให้เข้ากับวิวัฒนาการของสังคมไทย ร่วมสมัย กล่าวคือ การคำเนิดของเพลงไทยสากล ที่ได้รับการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่างตนตรีตะวันตกและการเอื้อนแบบไหย ตังนั้นบทความนี้จึงเป็นการเสนอทัศนะจากมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเอื้อนโดยตรงเพื่อซี้ประเด็นของการมีอยู่และพัฒนาการของการเอื้อน อีกทั้งวัฒนธรรมดนตรีกระแสหลัก และอนุรักษ์นิยมสามารถมีพื้นที่ของตัวเองและบางครั้งทำงานประสานกัน Abstract This article aims to contribute ideas in Thai vocalization through historical study. Author would like to share findings--- particularly in Uean, a crucial component in Thai vocal. The significance of Uean mostly covers the traditional singings in Thailand. The previous studies have presented and introduced Thai vocalization in many ways while Mr. Sujit Wongthed rather pointed out that in historical background of Uean, dating back to Ayutthaya era. His premises denied an appearance of Uean during Ayutthaya era and a traditional singing has not been getting along with Pop singing culture. Thus the author has deliberated on the traditional Thai vocalization in historical and sociological studies, the objectives are 1. To study an existence and development of Uean during Ayutthaya epoch and 2. To showcase a transition of Thai vocalization in contemporary time. The findings of the paper creditably affirm that an Uean tradition has been appeared since prior mid Ayutthaya era, the Uean was included in religious chanting and also folk singings. Additionally, Thai vocalization has been adjusted throughout the period of modern time. The empirical evidences indicated Pleng Thai Sakol is the attempts of harmonizing between traditional and contemporary traditions or a meeting of Thai and western cultures. The paper is based on a point of view of fist-hand experience regarding Thai vocalization of the author as singer. Therefore, Thai vocalization is still lively mobilizing a circle of conservative and contemporary dimension in some levels. 
     คำสำคัญ เอื้อน/เพลงไทยเดิม/เพลงขับร้องไทย 
ผู้เขียน
617220037-6 นาย ธนรัฐ อยู่สุขเจริญ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ตีพิมพ์แล้ว 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation ไม่มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ไม่เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0