2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title นโยบายรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามกับผลกระทบต่อดนตรีไทย 
Date of Distribution 14 August 2020 
Conference
     Title of the Conference ประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 4 "สัมพันธภาพไร้พรมแดนผ่านศาสตร์ศิลป์ของมนุษยชาติ" 
     Organiser สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธิ์ุ 
     Conference Place วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธิ์ุ 
     Province/State กาฬสินธิ์ุ 
     Conference Date 13 August 2020 
     To 15 August 2020 
Proceeding Paper
     Volume
     Issue
     Page 394-410 
     Editors/edition/publisher  
     Abstract บทความนี้ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายของรัฐด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับดนตรีไทย ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามกับผลกระทบที่มีต่อดนตรีไทย ในการศึกษาประวัติดนตรีไทยสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มักมีการกล่าวว่าจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไม่ส่งเสริมดนตรีไทย มีการ กีดกันดนตรีไทยอกจากสังคมและวัฒนธรรมไทย ให้ความสำคัญกับดนตรีตะวันตก ทั้งที่ในความเป็นจริงรัฐบาลจอมพล ป. ให้ความสำคัญกับศิลปวัฒนธรรมเป็นอย่างยิ่ง โดยมุ่งหวังให้วัฒนธรรมเป็นตัวนำพาประเทศชาติไปสู่ความเป็นอาระยะ ทัดเทียมกับชาติตะวันตก เพื่อการดำรงความเป็นชาติภายใต้สภาวการณ์ของโลกในขณะนั้น จึงมีการออกกฎ ระเบียบต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านดนตรี ที่เสมือนเป็นการบังคับให้การขับร้องและบรรเลงดนตรีไทยต้องอยู่แบบแผนที่รัฐเป็นผู้กำหนดตามมาตรฐานสากล มีกรมศิลปากรเป็นผู้ควบคุมมาตรฐาน อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมาเมื่อดนตรีเข้ามามีบทบาทต่อสังคมไทยมากขึ้น ทำให้ดนตรีไทยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบโดยรับเอาวัฒนธรรมดนตรีตะวันตกเข้าผสมผสานอย่างกลมกลืน โดยที่ไม่เสียความเป็น อัตลักษณ์ของดนตรีไทย จนดูเหมือนภาพจากนโยบายด้านดนตรีในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้หวนกลับมาสู่ดนตรีไทยอีกครั้งหนึ่งด้วยความเต็มใจของนักดนตรีไทย  
Author
607220023-6 Mrs. UMAPORN KLAHAN [Main Author]
Fine and Applied Arts Doctoral Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis false 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0