EN, publication_conference_work_name |
ผลของการเกิดผนังกั้นโพรงจมูกคดต่อความหนาผนังเยื่อเมือกภายในไซนัสโหนกแก้มในผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ |
EN, publication_conference_publish_date |
15 March 2024 |
EN, publication_conference_conference |
EN, publication_conference_conference_name |
27th National Graduate Conference (1/2024) |
EN, publication_conference_conference_institute |
สมาคมนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, โรงเรียนเสนาธิการทหารบก, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, วิทยาลัยทองสุข, บริษัท ที่ปรึกษากฎหมาย ธุรกิจ และการวิจัย ไวท์ ไทเกอร์ จำกัด |
EN, publication_conference_conference_place |
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
EN, publication_conference_conference_province |
บุรีรัมย์ |
EN, publication_conference_conference_from_date |
15 March 2024 |
EN, publication_conference_conference_to_date |
16 March 2024 |
EN, publication_conference_proceeding |
EN, publication_conference_proceeding_volume_short |
2 |
EN, publication_conference_proceeding_issue_short |
3 |
EN, publication_conference_proceeding_page_short |
32 |
EN, publication_conference_proceeding_editor_short |
Professor Dr.Kittisak Jermsittiparsert |
EN, publication_conference_abstract |
การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและอิทธิพลของผนังกั้นโพรงจมูกคดต่อความหนาผนังเยื่อเมือกภายในไซนัสโหนกแก้มในผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่สมบูรณ์ทั้งแบบข้างเดียว และสองข้างที่เข้ารับการรักษา ณ ศูนย์ตะวันฉาย 76 ราย ช่วงอายุ 8-21 ปี (เฉลี่ย 11.43 ± 3.73 ปี) เพื่อวัดระยะการเบี่ยงเบนมากที่สุดและรูปร่างผนังกั้นโพรงจมูกคด และวัดความหนาผนังเยื่อเมือกภายในไซนัสโหนกแก้ม (มากกว่า 3 มม.) จากการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ลำรังสีรูปกรวย โดยใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบไคสแควร์และฟิสเชอร์ (ความเชื่อมั่นร้อยละ 95) ผลการศึกษาพบว่า 1) เพศ อายุ และชนิดของปากแหว่งเพดานโหว่ไม่มีผลทางสถิติต่อความชุกของผนังกั้นโพรงจมูกคด (ร้อยละ 97.37) 2) เพศชายมีความชุกของความหนาผนังเยื่อเมือกภายในไซนัสมากกว่าเพศหญิง (ร้อยละ 75: ชาย, 39.95: หญิง) 3) ผนังกั้นโพรงจมูกคดไม่มีผลทางสถิติต่อความหนาผนังเยื่อเมือกภายในไซนัสโหนกแก้มที่เพิ่มขึ้น แต่พบว่าความหนาผนังเยื่อเมือกภายในไซนัสโหนกแก้มมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นในผนังกั้นโพรงจมูกคดระดับรุนแรงมาก และผนังกั้นโพรงจมูกคดจะเบี่ยงไปด้านเดียวกันกับรอยแยกในผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่แบบข้างเดียว |
EN, publication_article_writer |
|
EN, publication_conference_evaluation |
มีผู้ประเมินอิสระ |
EN, publication_conference_level |
ชาติ |
EN, publication_conference_proceeding_style |
Full paper |
EN, publication_conference_presentation_style |
Poster |
EN, publication_conference_part_of_thesis |
EN, publication_conference_part_of_thesis_true |
EN, publication_conference_part_of_graduate |
EN, publication_conference_part_of_graduate_false |
EN, publication_conference_is_reward |
EN, publication_conference_is_reward_false |
EN, publication_attachment_file |
|
Citation |
1
|
|