ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องเพื่อตรวจจับภาพชิ้นส่วน
ที่มีสนิมของโครงสร้างเหล็กอาคารโกดังสินค้า |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
23 พฤษภาคม 2566 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
สถานที่จัดประชุม |
โรงแรมภูเก็ต เกรซแลนด์ รีสอร์ท แอน สปา, จังหวัดภูเก็ต |
จังหวัด/รัฐ |
จังหวัดภูเก็ต |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
24 พฤษภาคม 2566 |
ถึง |
26 พฤษภาคม 2566 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
2566 |
Issue (เล่มที่) |
28 |
หน้าที่พิมพ์ |
CEM44-1 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
ปัจจุบันอุตสาหกรรมขนส่งสินค้ามีความต้องการใช้พื้นโกดังในแต่ละ จุดสำคัญในแต่ละเมืองภายในประเทศไทย เนื่องด้วยการเข้าถึงสินค้า และความต้องการสินค้าของกลุ่มผู้ใช้บริการสูงขึ้นต่อกลุ่มธุรกิจการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้อาคารโกดังสินค้ามีการก่อสร้างเพิ่มขึ้นโดยรูปแบบ อาคารชนิดนี้โดยส่วนมากมีเหล็กเป็นวัสดุหลักในส่วนของงานโครงสร้าง เหล็กเป็นวัสดุโครงสร้างที่สำคัญประเภทหนึ่งในอุตสาหกรรมก่อสร้าง แต่ ถึงแม้จะเป็นวัสดุที่สำคัญแต่เหล็กนั้นเป็นวัตถุที่ไม่เสถียร เมื่อนำมาใช้จะเกิด การกัดกร่อนและสึกหรอ การกัดกร่อนที่มักจะเกิดกับเหล็กนั้นคือสนิม สนิม เป็นรูปแบบหนึ่งของการกัดกร่อนที่เกิดจากปฏิกิริยายาออกซิเดชันของ เหล็กเมื่อสัมผัสกับอากาศและความชื้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ ตรวจจับภาพชิ้นส่วนที่มีสนิมเพื่อให้การบริหารจัดการซ่อมแซมอาคาร
สามารถดำเนินการวางแผนได้มีประสิทธิภาพ โดยทำการเก็บข้อมูลจาก ภาพชิ้นส่วนที่เกิดสนิมและไม่มีสนิมในโครงการก่อสร้างโกดังสินค้าจำนวน 133 ภาพ ด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบพกพา จากนั้นนำมาจำแนกปริมาณ พิกเซลของสี สีแดง สีเขียว สีฟ้า และสร้างแบบจำลองเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพด้วยอัลกอริทึมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด ผลการศึกษาพบว่า แบบจำลองมีค่าความถูกต้องร้อยละ 70 ในการทำนายภาพที่มีสนิม ซึ่ง สามารถใช้แบบจำลองเพื่อประเมินสนิมในโครงสร้างเหล็กในเบื้องต้นได้ เพื่อที่จะวางแผนการบำรุงรักษาต่อไป |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|