Research Title |
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งทั่วไป ระหว่าง ปี 2562 และปี 2566 |
Date of Distribution |
13 December 2024 |
Conference |
Title of the Conference |
The First Internation Conference on Public Affairs (ICPA 2024) |
Organiser |
วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
Conference Place |
โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น ราชาออคิด |
Province/State |
ขอนแก่น |
Conference Date |
12 December 2024 |
To |
13 December 2024 |
Proceeding Paper |
Volume |
2024 |
Issue |
1 |
Page |
310-315 |
Editors/edition/publisher |
Klungnana Vittaya Press |
Abstract |
สอสงคมออนไลนกลายเปนเครองมอสาคญในการรณรงคหาเสยง ซงในการเลอกตงทวไปป 2562
และป 2566 ผสมครเลอกตงและพรรคการเมองมความชดเจนในการนาสอโซเชยลมเดยมาเปนชองทางในการ
เผยแพร่การรณรงค์แคมเปญ การก าหนดประเด็นทางการเมืองถือเป็นการสร้างช่องทางการรบรการเลอกตง
อยางชดเจนกวาการเลอกตงทกครงทผานมา
บทความวจยชนนมวตถประสงคเพอเปรยบเทยบกลยทธและแนวทางการใชสอสงคมออนไลนใน
การรณรงคหาเสยงเลอกตง ในป 2562 และป 2566 พรอมทงศกษาความแตกตางและพฒนาการของการใช
สื ่อออนไลน์ในการสื ่อสารทางการเมืองในห้วงเวลาดังกล่าว โดยศึกษาจากพรรคการเมืองที่มีคะแนนสูงสุด 5
อันดับ จากข้อมูลเอกสารบทความวิจัย,บทความวิชาการ,วารสารและบทสัมภาษณ์ที่เผยแพร่ในสื ่อต่าง ๆ
จากนนนามาวเคราะหภายใตกรอบทฤษฎการตลาดทางการเมอง ผลการศกษาชวยใหเหนถงการพฒนาและ
ความส าคัญของการสื ่อสารทางการเมืองในยุคดิจิทัล ความแตกต่างในชวงการเลอกตงป 2562 และ 2566
ชี้ให้เห็นถึงการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเชิงลึกของนักการเมือง และการใช้เครื ่องมือวิเคราะห์เพื ่อปรับเนื ้อหาให้
สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย ส่งผลให้เกิดการสร้างกระแสออนไลน์ และหัวคะแนนธรรมชาติ สะท้อนให้เห็นถึง
พัฒนาการเชิงกลยุทธ์ในการใชสอเพอเพมประสทธภาพในการสอสาร แมจะมขอทาทายการจาการ
แพร่กระจายของข้อมูลเท็จ แต่หากบริหารจัดการได้ดีสื ่อสังคมออนไลน์สามารถกลายเป็นช่องทางที่มี
ประสิทธิภาพสูงในการส่งเสริมประชาธิปไตย |
Author |
|
Peer Review Status |
มีผู้ประเมินอิสระ |
Level of Conference |
นานาชาติ |
Type of Proceeding |
Full paper |
Type of Presentation |
Oral |
Part of thesis |
true |
Presentation awarding |
false |
Attach file |
|
Citation |
0
|
|