2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title ความหลากหลายของแก่นตะวันจากการวิเคราะห์ด้วยเครื่องหมายโมเลกุล SRAPs 
Date of Distribution 25 January 2010 
Conference
     Title of the Conference ประชุมวิชาการเกษตร ครั้งที่ 11 
     Organiser คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     Conference Place คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     Province/State ขอนแก่น 
     Conference Date 25 January 2010 
     To 26 January 2010 
Proceeding Paper
     Volume 2553 
     Issue 11 
     Page 476 
     Editors/edition/publisher  
     Abstract แก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) มีถิ่นกำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกามีการนำมาใช้ประโยชน์ทั้งในด้านอาหารมนุษย์ อาหารสัตว์ อุตสาหกรรมการผลิตแอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ งานวิจัยนี้ได้นำเอาเครื่องหมายโมเลกุล Sequence-Related Amplified Polymorphisms (SRAPs) มาใช้เพื่อศึกษาพันธุกรรมแก่นตะวันจากแหล่งพันธุกรรม Plant Gene Resources of Canada จำนวน 47 สายพันธุ์ พบว่าไพรเมอร์ 9 คู่ สามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็นเอจากแก่นตะวันทั้ง 47 สายพันธุ์ได้ จำนวนอยู่ระหว่าง 12 ถึง 37 แถบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.33 แถบ ซึ่งมีแถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน (polymorphic DNA) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.11 แถบ โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 10 ถึง 36 แถบ โดยมีขนาดของแถบดีเอ็นเออยู่ระหว่าง 95 ถึง 2,000 คู่เบส ค่า PIC จากแถบดีเอ็นเอที่สังเคราะห์ได้จากแก่นตะวัน 47 สายพันธุ์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.955 จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของแก่นตะวันด้วยวิธี UPGMA สามารถแบ่งแก่นตะวัน 47 พันธุ์ ออกเป็น 7 กลุ่ม แสดงให้เห็นว่าลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่ได้จากการศึกษาด้วยเทคนิค SRAP-PCR สามารถบ่งบอกความแตกต่างทางพันธุกรรมได้ดี Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) is native to the central regions of North America. The objective of this study was to analyze forty-seven H. tuberosus cultivars collected from Plant Gene Resources of Canada using sequence-related amplified polymorphisms (SRAPs) technique. Nine primers were able to amplified product DNA fragments from forty-seven H. tuberosus cultivars, 12 to 37 DNA fragments (average 24.33 DNA fragments) were generated in the range of 95 to 2,000 bp, of which 10 to 36 DNA fragments (average 21.11 DNA fragments) were polymorphic bands and polymorphic information content (PIC) was 0.955. Cluster analysis of all H. tuberosus samples by UPGMA method based on genetic similarity indexes indicated that there were 7 clusters. These results demonstrated that SRAPs technique is an effective tool for estimating genetic diversity.  
Author
495020219-8 Miss DOLRAT SUDLAH [Main Author]
Science Master's Degree
495020032-4 Mr. PICHEDSAK SRIVONG
Science Master's Degree

Peer Review Status ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Poster 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0