|
|
|
|
1. ชื่อหลักสูตร |
|
|
ภาษาไทย |
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู |
ภาษาอังกฤษ |
Higher Graduate Diploma Program in Clinical Medical Sciences Program in Rehabilitation Medicine |
|
|
2. ชื่อปริญญา |
|
|
ภาษาไทย |
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (เวชศาสตร์ฟื้นฟู)
ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (เวชศาสตร์ฟื้นฟู)
|
ภาษาอังกฤษ |
Higher Graduate Diploma in Clinical Medical Sciences (Rehabilitation Medicine)
Higher Grad. Dip. in Clinical Medical Sciences (Rehabilitation Medicine)
|
|
|
3. ระดับการศึกษา |
|
|
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง |
|
4. สังกัดคณะ |
|
|
คณะแพทยศาสตร์ |
|
5. สังกัดภาควิชา/สาขาวิชา |
|
|
|
|
6. วัตถุประสงค์ |
|
|
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชา เวชศาสตร์ฟื้นฟู มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิต ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 4.3.1 เป็นแพทย์ที่มีความรู้ ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและอื่น ๆ ที่สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อมาตรฐานการบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วย ด้านการวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วย ด้านบริหารจัดการผู้ป่วยและทีม ด้านการวิเคราะห์วิจัย เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย/ผู้พิการ 4.3.2 เป็นแพทย์ที่มีทักษะ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ การประเมินวิเคราะห์ปัญหาและฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ เหมาะสมและครอบคลุม รู้จักใช้วิทยาการและวิจารณญาณอย่างเหมาะสม บริหารทีมและทำงานร่วมกับสาขาวิชาชีพอื่นได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ สื่อสารกับผู้ป่วยเข้าใจและกับผู้ร่วมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรและข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำวิจัยเพื่อพัฒนางานและองค์ความรู้ใหม่ ที่นำมาใช้บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ป่วย/ผู้พิการได้ 4.3.3 เป็นแพทย์ที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความกระตือรือร้นและมุ่งมั่นในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ใฝ่รู้ ติดตามวิทยาการใหม่ๆ มีความเสียสละ ซื่อสัตย์ มีความสุขและมีใจรักการทำงาน อีกทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีต่อนักศึกษาแพทย์ ผู้ร่วมงาน และบุคคลทั่วไป จุดเด่นของหลักสูตรนี้ที่แตกต่างจากหลักสูตรอื่น คือนักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติประยุกต์ความรู้ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูมาใช้ในงานด้านบริการของการแพทย์ และฝึกทักษะร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการติดตาม ดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตลอดระยะเวลา 2 ปีการศึกษา ทำให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงภายหลังเสร็จสิ้นการฝึกปฏิบัติงาน
|
|
7. กำหนดการเปิดสอน |
|
|
จะเปิดดำเนินการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไป
|
|
8. สถานะหลักสูตร |
|
|
เปิด
|
|
9. อาจารย์ |
|
|
9.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
|
อ. เอกสิทธิ์ ภู่ศิริภิญโญ
|
|
9.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
|
ผศ. ปรีดา อารยาวิชานนท์
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
ผศ. เสมอเดือน คามวัลย์
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
อ. เอกสิทธิ์ ภู่ศิริภิญโญ
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
- นลินทิพย์ ตำนานทอง
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
9.3 อาจารย์ผู้สอน |
|
|
ศ. สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ
|
3
|
|
รศ.ดร. น้อมจิตต์ นวลเนตร์
|
4
|
|
รศ. ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
|
6
|
|
ผศ. ณิชานันทน์ ปัญญาเอก
|
9
|
|
ผศ. ปรีดา อารยาวิชานนท์
|
9
|
|
อ.ดร. บุษบามินตรา ฉลวยแสง
|
10
|
|
อ. เอกสิทธิ์ ภู่ศิริภิญโญ
|
11
|
|
|
|
|
|