2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น A STUDY OF CONSUMER BEHAVIOR TOWARDS READING E-BOOK IN KHON KAEN MUNICIPALITY 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 21 กันยายน 2557 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการ ระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2557 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมเซ็นทารา แอนด์ คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 20 กันยายน 2557 
     ถึง 21 กันยายน 2557 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 143 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การศกึ ษาพฤตกิ รรมผ้บู รโิ ภคทมี่ ตี ่อการอ่านหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น จงั หวดั ขอนแก่น เป็นการศกึ ษาพฤตกิ รรมผ้บู รโิ ภค โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครอื่ งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู กบั กล่มุ ตวั อย่าง จำนวน 400 ราย วเิ คราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้อธิบายข้อมูลประชากรศาสตร์ พฤติกรรมในการเลือกซื้อ สินค้าและบริการ สำหรับสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test และ One-Way ANOVA ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย อายุ 26 – 30 ปี สถานภาพโสด อาชีพ ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท การศึกษาระดับปริญญาตรี ผู้บริโภคส่วนใหญ่อ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จากคอมพิวเตอร์สนใจอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ประเภท ท่องเที่ยว/กีฬา มีการอ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นจำนวน 1 – 2 ครั้งต่อสัปดาห์ เลือกอ่านหนังสืออิเลคทรอนิกส์ (E-Book) โดยมีสาเหตุจาก มีคุณสมบัติ พิเศษ (Interactive) เช่น รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงเพลง เป็นต้น ค้นหาข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) จากอินเทอร์เน็ต ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และบริการในเรื่องความสะดวก ในการอ่านได้ทุกที่ซึ่งเป็นเหตุผลหลักของการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ รองลงมา คือ ด้านกระบวนการในเรื่องความรวดเร็วในการให้ บริการ และ ด้านช่องทางการจัดหน่ายในเรื่องความสะดวกในการซื้อ ตามลำดับ 
ผู้เขียน
555740252-5 นาย วิธิวัต โคตรโมลี [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท ภาคพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0