ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
แซนโฏนตา: ความเชื่อ พิธีกรรม และการธำรงชาติพันธุ์ของชาวไทยเชื้อสายเขมร |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
7 ธันวาคม 2557 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
10th International Conference on Humanities & Social Sciences (IC-HUSO 2014) |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University |
สถานที่จัดประชุม |
Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University |
จังหวัด/รัฐ |
|
ช่วงวันที่จัดประชุม |
20 ธันวาคม 2557 |
ถึง |
21 ธันวาคม 2557 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
10TH |
Issue (เล่มที่) |
315-331 |
หน้าที่พิมพ์ |
1005-1021 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการธำรงชาติพันธุ์ของชาวไทยเชื้อสายเขมรในบริบทของหมู่บ้านหนองแวง ตำบลหนองแวง อำเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีชาวลาวและชาวส่วย เป็นชนกลุ่มหลัก การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์กลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมรที่แบ่งออกเป็นรุ่นเก่า รุ่นใหม่ และสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน ตลอดจนกลุ่มชาติพันธุ์ลาวและส่วย ผลการศึกษาพบว่า อัตลักษณ์ของชาวไทยเชื้อสายเขมรถูกประกอบสร้างขึ้นภายใต้ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ผ่านความเชื่อ และพิธีกรรมแซนโฏนตา วิถีการดำเนินชีวิตของชาวไทยเชื้อสายเขมรผูกโยงกับความเชื่อเรื่องผี ธรรมชาติ ศาสนา ที่ให้ความสำคัญกับความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ ทำให้พิธีกรรมแซนโฏนตาถูกหยิบยกขึ้นมาใช้สร้างจิตสำนึกร่วมของกลุ่มในการสร้างอัตลักษณ์ เพื่อธำรงชาติพันธุ์ของกลุ่มไว้โดยมีการปรับเปลี่ยนให้เกิดความสอดคล้องกับบริบทชุมชนที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ด้วยการเชื่อมโยงกับสารทลาว สารทส่วย แซนโฏนตาไม่เพียงเป็นการตอกย้ำจิตสำนึกร่วมของกลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมรเท่านั้น หากยังเป็นช่องทางในการสร้างการยอมรับจากกลุ่มอื่นและเชื่อมสายใยความสัมพันธ์กับเครือญาติในพื้นที่บ้านเก่ากับเครือญาติในชุมชนได้อย่างแนบแน่น |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
นานาชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
1
|
|