2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ แนวทางการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาบ้านหัวบึงเพื่อตกแต่งสปารูปแบบสัปปายะ 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 29 มิถุนายน 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการทางการออกแบบสร้างสรรค์ระดับชาติ (ครั้งที่ 1 : 2561 : มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 29 มิถุนายน 2561 
     ถึง 29 มิถุนายน 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2561 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 45-55 
     Editors/edition/publisher คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น/100/โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา 
     บทคัดย่อ บทคัดย่อ บ้านหัวบึงเป็นหมู่บ้านเครื่องปั้นดินเผาที่ มีความชานาญในการขึ้นรูปภาชนะให้บาง สม่าเสมอ ใช้เทคนิคการผสมดินแบบพิเศษ พบว่าเครื่องปั้นดินเผาบ้านหัวบึง มีพื้นผิวที่รองรับแรงหดตัวได้ดี มีรายละเอียดการทาลวดลาย ที่เรียบง่าย ผู้วิจัยเล็งเห็นถึงคุณสมบัติพิเศษของดินที่มีรูพรุนช่วยในการหดตัวของเนื้อดินและการขึ้นรูปภาชนะให้มีความบางสม่าเสมอที่สามารถกระจายความร้อนได้ทั่วภาชนะเหมาะสมกับการทดลองกรรมวิธีการเผาแบบรากุเป็นกรรมวิธีเผาเคลือบไฟต่า ซึ่งเครื่องเคลือบดินเผารากุ เป็นที่นิยมนาไปใช้ในรูปแบบของการแสดงออกถึงธรรมชาติ สุนทรียะ การรับรู้ผ่านการสัมผัส และการมอง ความใจใส่รายละเอียดการอยู่กับธรรมชาติ จากกลุ่มตัวอย่างสปาในจังหวัดขอนแก่น จานวน 5 แห่ง พบว่าผลตอบรับเป็นที่พึงพอใจและสนใจในเครื่องเคลือบดินเผารากุ มีสามารถสร้างความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ในตลาดและการแสดงออกถึงธรรมชาติ ของชิ้นงาน วิธีวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการสปา จานวน 5 แห่ง ผู้เชี่ยวชาญการออกแบบ 3 ท่าน ผู้ผลิตเครื่องปั้นดินเผาบ้านหัวบึง นักบาบัดและผู้มาใช้บริการในสปา เพื่อเป็นข้อมูลในการออกแบบ ทดลองสูตรดินปั้นโดยใช้วิธี Biaxial Blend โดยใช้ดินของบ้านหัวบึงเป็นหลัก และทดลองการเผาด้วยเทคนิครากุ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้ความคิดรวบยอดในการออกแบบ (Concept) แบบร่าง(Sketch) และ พัฒนาแบบร่าง (Develop) ทาต้นแบบและนาต้นแบบไปประเมินความพึงพอใจกับผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ (จานวน 3 ท่าน) ผลการวิจัย พบว่าผลการทดลองดิน ในค่า 70 : 30 มีค่าความเหมาะสมสาหรับขึ้นต้นแบบ สาหรับการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ พบว่าผลิตภัณฑ์รูปทรงสมมาตร ได้แก่ โคมไฟตั้งโต๊ะ อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด 
ผู้เขียน
585200021-6 นาย เศรษฐรัฐ วงศ์ศรีมี [ผู้เขียนหลัก]
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0