2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ A Preliminary Study on Effect of Exercise on Sand and Hard Surfaces on Walking Ability of Community-Dwelling Elderly การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับผลของการออกกำลังกายบนพื้นทรายและพื้นแข็งต่อความสามารถด้านการเดิน ของผู้สูงอายุในชุมชน 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 9 มีนาคม 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม The national conference of The 19th National Graduate Research Conference 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม อาคารพนจ์ สารสิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 9 มีนาคม 2561 
     ถึง 9 มีนาคม 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2018 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 54-61 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ ABSTRACT Current methods to promote level of independence and health status of elderly likely involve various types of exercises on a hard surface. Several studies also reported challenging effects of sand surfaces, without clear evidence to support its benefit over a hard surface. This study compared effects of 6-week exercise training on hard and sand surfaces on walking speed in 23 community-dwelling elderly. The subjects were trained using a Thai dancing program on hard (n=8) and sand (n=15) surfaces for 50 minutes/session, 3 times/week over 6 weeks. Subjects were assessed for their walking speed using the 10-meter walk test at week 0, 3 and 6 after training. The results indicated that exercises on a sand surface significantly improved walking speed of the subjects since 3 weeks after training, and the effects were continued to 6 weeks. As a walking speed is important for overall walking ability, health status and levels of independence for elderly, the incorporation of a sand surface may promote rehabilitation outcomes, particularly in a current era that the number of these individuals is dramatically increased. บทคัดย่อ ปัจจุบันการส่งเสริมความสามารถและภาวะทางสุขภาพของผู้สูงอายุมักใช้การออกกำลังกายแบบต่างๆ บนพื้นแข็ง การศึกษาจำนวนมากได้รายงานผลความท้าทายของพื้นทราย โดยไม่มีหลักฐานสนับสนุนประโยชน์ของการออกกำลังกายบนพื้นทรายที่เหนือกว่าแข็งอย่างชัดเจน การศึกษานี้เปรียบเทียบผลของการออกกำลังกาย 6 สัปดาห์บนพื้นแข็ง และพื้นทรายต่อความเร็วในการเดินในผู้สูงอายุในชุมชนจำนวน 23 ราย โดยการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมโดยการปิดบัง 2 ทาง อาสาสมัครได้รับการฝึกรำไทยบนพื้นแข็ง (n=8) และพื้นทราย (n=15) เป็นเวลา 50 นาที/ครั้ง 3 ครั้ง/สัปดาห์ ทั้งหมด 6 สัปดาห์ อาสาสมัครได้รับการประเมินความเร็วในการเดินโดยใช้การทดสอบระยะทาง 10 เมตร ก่อนการฝึกในสัปดาห์ที่ 0 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 3 และ 6 ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าการออกกำลังกายบนพื้นทรายช่วยพัฒนาความเร็วในการเดินตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3 และมีผลต่อเนื่องไปถึงสัปดาห์ที่ 6 โดยความเร็วในการเดินมีความสำคัญต่อความสามารถด้านการเดินโดยรวม ภาวะทางสุขภาพ และระดับการช่วยเหลือตนเองของผู้สูงอายุ ดังนั้น การนำพื้นทรายมาร่วมในการฟื้นฟูความสามารถอาจช่วยส่งเสริมผลลัพธ์ของการฟื้นฟูความสามารถให้ดีขึ้น โดยเฉพาะในปัจจุบันที่จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน  
ผู้เขียน
577090003-1 น.ส. ชลธิชา แก้วจอหอ [ผู้เขียนหลัก]
คณะเทคนิคการแพทย์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Abstract 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0