2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ผลของซีริน ไกลซีน และเคซีน ต่อการชักน าให้เกิดต้นและปริมาณอินนูลินในแก่นตะวันในสภาพปลอดเชื้อ Effects of serine, glycine, and casein on in vitro shoot induction and inulin content of Kaentawan (Helianthus tuberosus L.)  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 15 มีนาคม 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 20 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม อาคารพจน์ สารสิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 15 มีนาคม 2562 
     ถึง 15 มีนาคม 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2562 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 448-458 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เซอรีน (serine) ไกลซีน (glycine) และเคซีน (casein) ที่ระดับความเข้มข้น 0, 50, 100, 150 และ 200 มิลลิกรัม/ลิตร ที่มีต่อการชักน าให้เกิดต้น ราก และ ปริมาณอินนูลินในแก่นตะวันในสภาพปลอดเชื้อ โดยน าเอาชิ้นส่วนข้อของแก่นตะวันสายพันุุ์ HEL 65 มาเลี้ยงบน อาหารสังเคราะห์ MS ที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ ข้างต้นตามการแผนการทดลองแบบ CRD แต่ละกรรมวิุี มี 10 ซ ้า ผลการทดลองพบวา่ อาหารสังเคราะห์ MS ที่เติม serine 100 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถชักน าให้เกิดยอดสูงสุด (1.80 ยอดต่อชิ้นส่วน) และรากสูงสุด (0.20 รากต่อชิ้นส่วน) ส่วนอาหารที่เติม glycine 100 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถชัก น าให้เกิดยอดได้ดีที่สุดอยางเดียว ่ 2.10 ยอดต่อชิ้นส่วน และอาหารที่เติม casein 150 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถชักน าให้เกิด ยอด (1.20 ยอดต่อชิ้นส่วน) และรากสูงสุด (0.50 รากต่อชิ้นส่วน) และเมื่อวิเคราะห์ปริมาณอินนูลินพบวาที่ ่ serine 200 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถชักน าให้มีปริมาณอินนูลินสูงที่สุด 15.63 กรัม/100กรัมน ้าหนักแห้ง ที่ glycine 150 มิลลิกรัม/ ลิตร พบวามีปริมาณอินนูลินสูงที่สุด ่ 0.96 กรัม/100กรัมน ้าหนักแห้ง และอาหารที่มี casein 50 มิลลิกรัม/ลิตร พบวามี ่ ปริมาณอินนูลินสูงที่สุด 6.50 กรัม/100กรัมน ้าหนักแห้ง ซึ่งสามารถใช้เป็ นแนวทางในการขยาพันุุ์และเพิ่มปริมาณ อินนูลินในแก่นตะวันภายใต้สภาพปลอดเชื้อต่อไป  
ผู้เขียน
585030045-8 น.ส. เฟื้องฟ้า ปัญหา [ผู้เขียนหลัก]
คณะเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0