2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ผลของตัวทา ละลายต่อฤทธ์ิต้านออกซิเดชันและปริมาณ สารประกอบฟีนอลิกของหัวไชเท้า Solvent effect on antioxidant activity and total phenolic content of Raphanus sativus 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 17 มีนาคม 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม The 10 th Annual Northest Pharmacy Research Conference of 2018 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
     สถานที่จัดประชุม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 17 มีนาคม 2561 
     ถึง 18 มีนาคม 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2018 
     Issue (เล่มที่) ISBN (e-book) 978-616-438-142-1 
     หน้าที่พิมพ์ 178-187 
     Editors/edition/publisher ดร.เด่นพงศ์ พัฒนเศรษฐานนท์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย ผศ.ดร.ดวงกมล ศักดิ์เลิศสกุล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย นางทองคา วงษ์พระจันทร์ หัวหน้าหน่วยสนับสนุนการวิจัยและการประชุมวิชาการ 
     บทคัดย่อ บทนา: การศึกษาวิธีสกัดหัวไชเท้าโดยใช้ส่วนเปลือกและเนื้อของหัวไชเท้าในตัวทาละลายที่แตกต่างกัน เพื่อหาวิธีการสกัดที่ให้สารประกอบฟีนอลิกและฤทธิต์ ้านออกซิเดชันสูงสุด วิธีดา เนิ นการวิจัย: สกัดหัว ไชเท้า 6 ตัวอย่าง ในตัวทา ละลาย 4 ชนิด ใช้ส่วนเปลือกและเนื้อของหัวไชเท้า ในเวลาต่างกัน นาสารสกัดหัว ไชเท้าแต่ละตัวอย่างมาวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกด้วยวิธี Folin-ciocalteu เทียบกับสารมาตรฐาน คือ Gallic acid ทดสอบฤทธิต์ ้านออกซิเดชันด้วยวิธี DPPH ผลการศึกษาวิจัย: สารสกัดหัวไชเท้าจาก 95% Ethanol (WR-95) ให้ yield สูงสุด คือ 2.807% สารสกัดจากน้าคัน้ เปลือกหัวไชเท้าสด (WR-F Ext) ให้ yield สูงรองลงมาคือ 2.076 % สารสกัดที่มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกมากที่สุดและรองลงมาคือ สารสกัดจากน้า คัน้ เปลือกหัวไชเท้าสด (WR-F Ext) และสารสกัดหัวไชเท้าจาก 95% Ethanol (WR-95) เท่ากับ 20.214 ± 0.074 และ 15.668 ± 0.061 μg of gallic acid equivalent/mg sample ตามลาดับ สารสกัดที่มีฤทธิต์ ้าน ออกซิเดชันมากที่สุดและรองลงมาคือ สารสกัดจากน้าคัน้ เปลือกหัวไชเท้าสด (WR-F Ext) และสารสกัดหัวไช เท้าจาก 95% Ethanol (WR-95) IC50 เท่ากับ 1.203 และ 1.314 mg/ml สรุปผลการวิจัย: สารสกัดหัวไชเท้า ส่วนเปลือกให้ฤทธิต์ ้านออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟีนอลิกมากกว่าส่วนเนื้อ โดยสารสกัดส่วนเนื้อที่ หมักไว้ 2 วันที่อุณหภูมิห้องมีฤทธิต์ ้านออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟีนอลิกลดลง การสกัดเนื้อหัวไช เท้าด้วย Ethanol ให้ฤทธิต์ ้านออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟีนอลิกมากกว่าการสกัดเนื้อหัวไชเท้าด้วย น้า ยงิ่ ความเข้มข้น Ethanol มาก ทา ให้ได้สารสกัดที่มีสารประกอบฟีนอลิกมากและออกฤทธิต์ ้านออกซิเดชัน มากขึ้น แต่ทัง้ นี้สารสา คัญที่ออกฤทธิใ์ นเปลือกอาจจะเป็นคนละชนิดกับในเนื้อหัวไชเท้าจึงทา ให้ สารสกัดจาก เปลือกหัวไชเท้ามีฤทธิต์ ้านออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟีนอลิกสูงสุด  
ผู้เขียน
585150033-6 น.ส. วิภาวี มาลีลัย [ผู้เขียนหลัก]
คณะเภสัชศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0