2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การกำจัดโมโนคลอโรอะซิโตไนไทลร์ด้วยกระบวนการยูวีแอลอีดีคลอรีนและวียูวีคลอรีนออกซิเดชัน 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 27 มีนาคม 2563 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 27 มีนาคม 2563 
     ถึง 27 มีนาคม 2563 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 21 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 298-306 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ ฮาโลอะซิโตไนไตรล์ (HANs) จัดเป็นสารพลอยได้จากการฆ่าเชื้อโรคกลุ่มไนโตรเจน เกิดจากสารฆ่าเชื้อโรค (คลอรีน คลอรามีน หรือคลอรีนไดออกไซด์) ทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ไนโตรเจนละลายน้ำ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา HANs ได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากมีความเป็นพิษมากกว่าสารพลอยได้จากการฆ่าเชื้อโรคที่ถูกควบคุม เช่น ไตรฮาโลมีเทนและกรดฮาโลอะซิติก UV-Cl2 based AOPs เป็นกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์ในน้ำ โดยกระตุ้น Cl2 ในกระบวนการ เพื่อสร้าง Cl• •Cl2- และ •OH ปัจจุบัน UV แบบไดโอดเปล่งแสง (UV-LED) ได้รับความสนใจจากนักวิจัย งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการกำจัดโมโนคลอโรอะซิโตไนไทลร์ (MCAN) ด้วย UV-LED VUV และผลของปริมาณ Cl2 ต่อการกำจัด MCAN จากการศึกษาพบว่า MCAN ถูกกำจัดด้วย VUV/Cl2 ได้ดีกว่า VUV UV-LED/Cl2 UV-LED และ Cl2 เพียงอย่างเดียว โดยมีค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ประโยชน์ของการศึกษาครั้งนี้คือศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้กระบวนการ UV-LED และ VUV เพื่อกำจัด MCAN ในน้ำดื่มที่ผลิตจากน้ำประปา 
ผู้เขียน
605040047-0 นาย สมพงษ์ สุนทะโร [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0