2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ความสัมพันธ์ระหว่างความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กรและความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงานเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 16 พฤษภาคม 2563 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี ครั้งที่ 8 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
     สถานที่จัดประชุม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
     จังหวัด/รัฐ  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 16 พฤษภาคม 2563 
     ถึง 17 พฤษภาคม 2563 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 1181-1198 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กร 2) ศึกษาปัจจัยความผูกพันต่อองค์กร 3) ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง อายุการทำงานกับปัจจัยความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กรและปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรและ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กรและปัจจัยความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงานเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ใช้แบบสอบถามวัดความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กร จำนวน 10 ข้อ วัดความผูกพันต่อองค์กร 5 ด้าน จำนวน 20 ข้อ ใช้มาตรวัด 5 ระดับ มีจำนวนกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานเทศบาลนครแหลมฉบัง จำนวน 180 คน สถิติที่ใช้ คือ สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ t-test วิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคุน ผลการวิจัยพบว่า มีเพียงข้อเดียวของความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กรที่ มีค่าเฉลี่ยในระดับถูกต้องทั้งหมด ส่วนปัจจัยความผูกพันต่อองค์กร พบว่า มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าระดับ ถูกต้องทั้งหมดทั้ง 20 ข้อ ได้คะแนนความผูกพันต่อองค์กร 83.32 คะแนน แสดงว่าพนักงานมีความผูกพันต่อองค์กรในระดับสูง พนักงานที่มีอายุการทำงานต่างกัน มีปัจจัยความภาคภูมิใจแห่งตน ในองค์กรต่างกันใน1ข้อ และมีปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรต่างกันใน1ข้อ เช่นกัน และพบว่ามีปัจจัยความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์กร 4 ด้านทีมีความสำคัญต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คำสำคัญ : ความภาคภูมิใจแห่งตน ความผูกพันต่อองค์กร พนักงานเทศบาล  
ผู้เขียน
615740104-6 น.ส. สุพัตรา ศรีกระทุม [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0