Title of Article |
การเปรียบเทียบวิธีการเก็บน ้ามันยางนาและการก้าจัดสารเหนียวในน้ำมันยางเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติด้านเชื อเพลิง |
Date of Acceptance |
27 August 2020 |
Journal |
Title of Journal |
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
Standard |
TCI |
Institute of Journal |
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
ISBN/ISSN |
|
Volume |
5 |
Issue |
1 |
Month |
lสิงหาคม |
Year of Publication |
2019 |
Page |
9-23 |
Abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเพิ่มคุณภาพด้านเชื้อเพลิงของน้้ามันยางนาที่ผ่านกระบวนการก้าจัดสารเหนียวในสารละลายด่าง เพื่อให้น้้ามันมีคุณภาพมาตรฐานตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงาน โดยท้าการเจาะเก็บและรวบรวมน้้ามันยางนาจากต้นยางนา มาผ่านกระบวนการก้าจัดสารเหนียวด้วยสารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 20% ในสัดส่วนปริมาณด่างต่อน้้ามันเป็น 1:4 โดยปริมาตร ที่อุณหภูมิ 95 C เป็นเวลา 30 นาที แล้วนำน้้ามันยางนาที่ผ่านกระบวนการแล้วไปตรวจวิเคราะห์คุณภาพด้านเชื้อเพลิงบางประการ ตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงาน เพื่อประเมินผลเปรียบเทียบกับน้้ามันดีเซล จากการศึกษาพบว่าการวิธีการเจาะเก็บน้้ามันยางนา 2 วิธีคือการเจาะหลุมแล้วกระตุ้นด้วยความร้อน และการเจาะล้ำต้นด้วยสว่านขนาด 1 นิ้วลึกเข้าไปในล้าต้นระยะ 2 ใน 3 ส่วนของระยะจากเปลือกถึงแกนกลางแบบไม่ใช้ความร้อน ในต้นยางนาที่มีขนาดเส้นรอบล้าต้นมากกว่า 80 เซนติเมตรขึ้นไป ปริมาณน้้ามันยางนาที่ได้จะแปรผันตรงตามอายุหรือขนาดของต้นยางนา ต้นอายุมาก ขนาดต้นใหญ่จะให้น้้ามันในปริมาณที่มากกว่า วิธีการเจาะเก็บที่กระตุ้นด้วยความร้อนจะได้น้้ามันยางนามากกว่าวิธีการเจาะที่ไม่ถูกกระตุ้นด้วยความร้อนน้้ามันยางนาสดนี้เมื่อทดสอบค่าความร้อนด้วย Bomb Calorimeter ได้ค่าความร้อนประมาณ 10,290 cal/g มีความหนืดสูง 48.0712
เซนติสโตรก มีค่าความเป็นกรด ปริมาณน้้าสูงกว่าน้้ามันดีเซลมาก ส่วนจุดขุ่น ความหนาแน่น จุดไหลเท จุดวาบไฟ การกัดกร่อนทองแดงมีค่าดีกว่าและอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงานเทียบเท่าน้้ามันดีเซล หลังจากนั้นน้าน้้ามันยางนาไปผ่านกระบวนการก้าจัดสารเหนียวด้วยสารละลายด่าง พบว่าได้น้้ามันที่ผ่านกระบวนการทั้งสิ้น (Yield) 78.35% โดยปริมาตร มีค่าความร้อนประมาณ 10,226 cal/g ใกล้เคียงกับน้้ามันดีเซลและน้้ามันยางนาสด มีจุดขุ่น จุดไหลเท ต่้ากว่าน้้ามันดีเซล ส่วนค่าความหนืด ความเป็นกรดและปริมาณน้้า จะมีค่าต่้ากว่าน้้ามันยางนาสดมาก แต่ยังสูงกว่าน้้ามันดีเซลอยู่เล็กน้อย |
Keyword |
น้้ามันยางนา, การก้าจัดสารเหนียว, คุณภาพน้้ามันเชื้อเพลิง |
Author |
|
Reviewing Status |
มีผู้ประเมินอิสระ |
Status |
ตีพิมพ์แล้ว |
Level of Publication |
ชาติ |
citation |
false |
Part of thesis |
false |
Attach file |
|
Citation |
0
|
|