ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การประเมินอายุชีวภาพด้วยความยาวเทโลเมียร์
The assessment of biological age using telomeres length
|
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
27 เมษายน 2563 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21The National Graduate Research Conference 21st |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
สถานที่จัดประชุม |
มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
จังหวัด/รัฐ |
ขอนแก่น |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
27 เมษายน 2563 |
ถึง |
27 เมษายน 2563 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
2020 |
Issue (เล่มที่) |
21 |
หน้าที่พิมพ์ |
39-47 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
บทคัดย่อ
อายุทางชีวภาพ (Biological age) เป็นอายุที่แสดงถึงสภาวะภายในร่างกาย ซึ่งอาจเท่ากับหรือต่างจากอายุตามวันเกิดจากปฏิทิน (Chronological age) ขึ้นอยู่กับการดูแลสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงจากภายในร่างกายและสภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคล วิธีประเมินอายุชีวภาพหนึ่งที่ได้รับการยอมรับมากในปัจจุบันคือการศึกษาความยาวของเทโลเมียร์ ซึ่งความยาวของเทโลเมียร์จะหดสั้นลงในทุก ๆ ขั้นตอนการแบ่งเซลล์ การศึกษานี้ได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบกับอายุปฏิทิน และยังทำการเปรียบเทียบอายุปฏิทินกับอายุชีวภาพที่ได้จากความยาวเทโลเมียร์และเครื่องวัดองค์ประกอบร่างกาย จากกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงจำนวน 15 คน ที่มีอายุตั้งแต่ 21-58 ปี เปรียบเทียบกับอายุปฏิทิน และยังทำการเปรียบเทียบอายุปฏิทินกับอายุชีวภาพที่ได้จากความยาวเทโลเมียร์และเครื่องวัดองค์ประกอบร่างกาย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญระหว่างอายุปฏิทินและอายุทางชีวภาพจากความยาวของเทโลเมียร์ และเครื่องวัดองค์ประกอบร่างกาย (p-value = 0.000) อย่างไรก็ตามควรมีการพิจารณาขนาดตัวอย่างเพิ่มเติมเพื่อการศึกษาต่อไป
|
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Poster |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|