2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Factor analysis of research competency of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast  
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 1 มิถุนายน 2564 
วารสาร
     ชื่อวารสาร วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
     ISBN/ISSN ISSN(print): 0858-5520; ISSN(online): 2651-1444 
     ปีที่ 28 
     ฉบับที่
     เดือน มกราคม - มิถุนายน
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2565 
     หน้า  
     บทคัดย่อ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก 63 โรงเรียน จำนวน 500 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดสมรรถนะวิจัย จำนวน 90 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรม Mplus 7.0 ผลการวิจัย พบว่า 1) โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ (1) ด้านความรู้ในการวิจัย (Knowledge) (2) ด้านคุณลักษณะของครูนักวิจัย (Attributes) (3) ด้านทักษะการวิจัย (Skills) และ 2) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา พบว่า โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษาฯ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ มีค่าเท่ากับ 10.325 ที่องศาอิสระ(df) เท่ากับ 6 ระดับนัยสำคัญ เท่ากับ 0.112 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (CFI) เท่ากับ 0.974 ค่า TLI เท่ากับ 0.964 ค่าดัชนีรากของกำลังสองเฉลี่ยของค่าความแตกต่างโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.043 ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.012 แสดงว่า ฉะนั้นเครื่องมือนี้สามารถนำไปใช้ประเมินสมรรถนะวิจัยของครู คำสำคัญ สมรรถนะวิจัย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ครูมัธยมศึกษา Abstract The objective of this research was to Factor analysis of research competency of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast. The sample consisted of 500 teachers from 63 secondary schools in the northeastern region. The results were obtained through multi-stage random sampling. The research instruments were 90 questionnaires. The data were analyzed by descriptive statistics. Pearson's correlation coefficient and a confirmation element analysis with the Mplus 7.0 program The results of the research were found that 1) the research performance measurement model of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast consisted of 3 components (1) Research Knowledge (2) Characteristics of Secondary Education and (3) Teachers Research Skills. Teacher Researcher Attributes and 2) The results of the consistency examination of the teacher classroom research competency measurement model showed that the model was consistent with the empirical data. By considering the chi-square value (2) = 10.325 at degrees of freedom (df) 6, significance level = 0.112, Comparative Fit Index (CFI) = 0.974, Tucker-Lewis Index (TLI) = 0.964, Root Mean - square Error of Approximation (RMSEA) = 0.043. Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) = 0.012 indicates that, therefore, this tool can be used to assess research performance in teachers' classrooms. Keywords: Research Competency, Confirmatory factor analysis, Secondary Teacher บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก 63 โรงเรียน จำนวน 500 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดสมรรถนะวิจัย จำนวน 90 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรม Mplus 7.0 ผลการวิจัย พบว่า 1) โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ (1) ด้านความรู้ในการวิจัย (Knowledge) (2) ด้านคุณลักษณะของครูนักวิจัย (Attributes) (3) ด้านทักษะการวิจัย (Skills) และ 2) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา พบว่า โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษาฯ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ มีค่าเท่ากับ 10.325 ที่องศาอิสระ(df) เท่ากับ 6 ระดับนัยสำคัญ เท่ากับ 0.112 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (CFI) เท่ากับ 0.974 ค่า TLI เท่ากับ 0.964 ค่าดัชนีรากของกำลังสองเฉลี่ยของค่าความแตกต่างโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.043 ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.012 แสดงว่า ฉะนั้นเครื่องมือนี้สามารถนำไปใช้ประเมินสมรรถนะวิจัยของครู คำสำคัญ สมรรถนะวิจัย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ครูมัธยมศึกษา Abstract The objective of this research was to Factor analysis of research competency of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast. The sample consisted of 500 teachers from 63 secondary schools in the northeastern region. The results were obtained through multi-stage random sampling. The research instruments were 90 questionnaires. The data were analyzed by descriptive statistics. Pearson's correlation coefficient and a confirmation element analysis with the Mplus 7.0 program The results of the research were found that 1) the research performance measurement model of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast consisted of 3 components (1) Research Knowledge (2) Characteristics of Secondary Education and (3) Teachers Research Skills. Teacher Researcher Attributes and 2) The results of the consistency examination of the teacher classroom research competency measurement model showed that the model was consistent with the empirical data. By considering the chi-square value (2) = 10.325 at degrees of freedom (df) 6, significance level = 0.112, Comparative Fit Index (CFI) = 0.974, Tucker-Lewis Index (TLI) = 0.964, Root Mean - square Error of Approximation (RMSEA) = 0.043. Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) = 0.012 indicates that, therefore, this tool can be used to assess research performance in teachers' classrooms. Keywords: Research Competency, Confirmatory factor analysis, Secondary Teacher บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก 63 โรงเรียน จำนวน 500 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดสมรรถนะวิจัย จำนวน 90 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรม Mplus 7.0 ผลการวิจัย พบว่า 1) โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ (1) ด้านความรู้ในการวิจัย (Knowledge) (2) ด้านคุณลักษณะของครูนักวิจัย (Attributes) (3) ด้านทักษะการวิจัย (Skills) และ 2) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา พบว่า โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษาฯ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ มีค่าเท่ากับ 10.325 ที่องศาอิสระ(df) เท่ากับ 6 ระดับนัยสำคัญ เท่ากับ 0.112 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (CFI) เท่ากับ 0.974 ค่า TLI เท่ากับ 0.964 ค่าดัชนีรากของกำลังสองเฉลี่ยของค่าความแตกต่างโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.043 ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.012 แสดงว่า ฉะนั้นเครื่องมือนี้สามารถนำไปใช้ประเมินสมรรถนะวิจัยของครู คำสำคัญ สมรรถนะวิจัย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ครูมัธยมศึกษา Abstract The objective of this research was to Factor analysis of research competency of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast. The sample consisted of 500 teachers from 63 secondary schools in the northeastern region. The results were obtained through multi-stage random sampling. The research instruments were 90 questionnaires. The data were analyzed by descriptive statistics. Pearson's correlation coefficient and a confirmation element analysis with the Mplus 7.0 program The results of the research were found that 1) the research performance measurement model of secondary school teachers under the Office of the Basic Education Commission in the northeast consisted of 3 components (1) Research Knowledge (2) Characteristics of Secondary Education and (3) Teachers Research Skills. Teacher Researcher Attributes and 2) The results of the consistency examination of the teacher classroom research competency measurement model showed that the model was consistent with the empirical data. By considering the chi-square value (2) = 10.325 at degrees of freedom (df) 6, significance level = 0.112, Comparative Fit Index (CFI) = 0.974, Tucker-Lewis Index (TLI) = 0.964, Root Mean - square Error of Approximation (RMSEA) = 0.043. Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) = 0.012 indicates that, therefore, this tool can be used to assess research performance in teachers' classrooms. Keywords: Research Competency, Confirmatory factor analysis, Secondary Teacher การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก 63 โรงเรียน จำนวน 500 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดสมรรถนะวิจัย จำนวน 90 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรม Mplus 7.0 ผลการวิจัย พบว่า 1) โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ (1) ด้านความรู้ในการวิจัย (Knowledge) (2) ด้านคุณลักษณะของครูนักวิจัย (Attributes) (3) ด้านทักษะการวิจัย (Skills) และ 2) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา พบว่า โมเดลการวัดสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษาฯ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ มีค่าเท่ากับ 10.325 ที่องศาอิสระ(df) เท่ากับ 6 ระดับนัยสำคัญ เท่ากับ 0.112 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (CFI) เท่ากับ 0.974 ค่า TLI เท่ากับ 0.964 ค่าดัชนีรากของกำลังสองเฉลี่ยของค่าความแตกต่างโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.043 ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.012 แสดงว่า ฉะนั้นเครื่องมือนี้สามารถนำไปใช้ประเมินสมรรถนะวิจัยของครู  
     คำสำคัญ สมรรถนะวิจัย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ครูมัธยมศึกษา  
ผู้เขียน
617050021-7 นาง วัลลยา โคตรนรินทร์ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0