ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
จากโลหะสำริดสู่ดนตรีกาเมลัน |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
14 สิงหาคม 2563 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 4 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ |
สถานที่จัดประชุม |
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ |
จังหวัด/รัฐ |
กาฬสินธุ์ |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
13 สิงหาคม 2563 |
ถึง |
15 สิงหาคม 2563 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
4 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
176 - 188 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางด้านภูมิศาสตร์ ประกอบไปด้วยดินแดนสองส่วนใหญ่ คือ ดินแดนภาคพื้นทวีป (Mainland Southeast Asia) และดินแดนภาคพื้นมหาสมุทร (Peninsular Southeast Asia) มีหมู่เกาะต่าง ๆ มากมาย จากลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีความแตกต่างกัน จึงทำให้สาธารณรัฐอินโดนีเซียมีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ศาสนา ความเป็นอยู่ และวิถีการดำรงชีวิต แต่สิ่งหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงอัตลักลักษณ์และความเป็นอินโดนีเซียได้อย่างชัดเจน คือ ดนตรีกาเมลัน (Gamelan Music) ซึ่งหมายถึง วงดนตรีประจำชาติของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นวงดนตรีที่มีอัตลักษณ์ทั้งในด้านของเครื่องดนตรีและรูปแบบวิธีการบรรเลงที่มีลักษณะความประณีตงดงามตามแบบวิถีชีวิตของชาวอินโดนีเซีย โดยเครื่องดนตรีของวงกาเมลันจะเป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจากไม้ไผ่ หนังวัว และโลหะสำริด ถึงแม้ว่าทุกวันนี้ โลกของเราจะมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากมายและรวดเร็วสักเพียงใด แต่การบรรเลงดนตรีที่เป็นลักษณะของกระบวนการโลหกรรมสำริด คือ กาเมลัน ก็ยังสามารถครองหัวใจประชาชนชาวอินโดนีเซียและประชาชนทั่วโลกไว้ได้เป็นอย่างดี เป็นเพราะการตระหนักและเล็งเห็นถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมของชาวอินโดนีเซีย จึงทำให้ดนตรีกาเมลันยังสามารถดำรงอยู่อย่างงดงามและยังคงสืบทอดต่อไปได้อย่างยั่งยืนยาวนาน |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
ไม่เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|