TH, publication_conference_work_name |
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน โดยใช้แพทเทิร์นบล็อก |
TH, publication_conference_publish_date |
26 December 2021 |
TH, publication_conference_conference |
TH, publication_conference_conference_name |
การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการ ครั้งที่ 12 "การศึกษาฐานสมรรถนะในยุค New Normal" |
TH, publication_conference_conference_institute |
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราภัฏนครศรีธรรมราช |
TH, publication_conference_conference_place |
ออนไลน์ zoom |
TH, publication_conference_conference_province |
นครศรีธรรมราช |
TH, publication_conference_conference_from_date |
25 December 2021 |
TH, publication_conference_conference_to_date |
26 December 2021 |
TH, publication_conference_proceeding |
TH, publication_conference_proceeding_volume_short |
12 |
TH, publication_conference_proceeding_issue_short |
2 |
TH, publication_conference_proceeding_page_short |
657-666 |
TH, publication_conference_proceeding_editor_short |
|
TH, publication_conference_abstract |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ผ่านการใช้แพทเทิร์นบล็อก กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 2 ห้องเรียน รวมเป็น 42 คน ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยโดยอาศัยกระบวนการการศึกษาชั้นเรียน โดยเพิ่มบทบาทครูให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิด ผู้วิจัยและทีมการศึกษาชั้นเรียนร่วมกันออกแบบเครื่องมือวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 คาบเรียน ร่วมกันสังเกตชั้นเรียน บันทึกข้อมูลในแบบสังเกต บันทึกวิดีทัศน์ตลอดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการสะท้อนผลร่วมกันในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การวิเคราะห์โพรโทคอล ตามกรอบแนวคิดของ ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ (2559: 2562) เกี่ยวกับการใช้สถานการณ์ปัญหาภายใต้บริบท (Context) และเงื่อนไข (Condition) ในรูปของคำสั่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตนเอง
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าร่วมในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใช้แพทเทิร์นบล็อกเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาและขยายแนวคิดได้ ทั้งในส่วนของการประมาณ (Estimation) การทดลอง (Experiment) และการสร้างเครื่องมือ (How to) ซึ่งเป็นผลจากการใช้สถานการณ์ปัญหาที่มีบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกัน และมีความเกี่ยวข้องกับการใช้แพทเทิร์นบล็อก โดยเงื่อนไขจะเป็นตัวช่วยในการนำแนวคิดจากการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนออกมา จะเห็นได้ว่า การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ของทีมการศึกษาชั้นเรียนที่มีแพทเทิร์นบล็อกเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา สามารถทำให้นักเรียนเกิดการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ |
TH, publication_article_writer |
|
TH, publication_conference_evaluation |
มีผู้ประเมินอิสระ |
TH, publication_conference_level |
ชาติ |
TH, publication_conference_proceeding_style |
Full paper |
TH, publication_conference_presentation_style |
Oral |
TH, publication_conference_part_of_thesis |
TH, publication_conference_part_of_thesis_true |
TH, publication_conference_part_of_graduate |
TH, publication_conference_part_of_graduate_false |
TH, publication_conference_is_reward |
TH, publication_conference_is_reward_false |
TH, publication_attachment_file |
|
Citation |
0
|
|