2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การวิเคราะห์องค์ประกอบวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 27 พฤษภาคม 2565 
การประชุม
     ชื่อการประชุม The 2nd National and International Conference on Educational Administration and Higher Education 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยเครือข่าย 
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 27 พฤษภาคม 2565 
     ถึง 27 พฤษภาคม 2565 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 277-286 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและระดับวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 2) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลองค์ประกอบของวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 จำนวน 120 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.912 วิเคราะห์ค่าสถิติสถิติพื้นฐานด้วยโปรแกรม SPSS และวิเคราะห์โมเดลองค์ประกอบด้วยโปรแกรม Mplus ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การพัฒนาบุคลากร การมีส่วนร่วมในการทำงาน การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านคุณภาพ การยกย่องและการให้รางวัล และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระดับวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาในภาพรวมพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การยกย่องและการให้รางวัล รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการทำงาน การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านคุณภาพ การพัฒนาบุคลากร และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตามลำดับ 2) โมเดลองค์ประกอบที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า X2 = 6.003, df = 5.000 , P-Value = 0.306, RMSEA = 0.046 , SRMR = 0.025 , CFI = 0.995,TLI=0.990  
ผู้เขียน
635050062-1 นาย อภิสิทธิ์ โคสาดี [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0