2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title การพัฒนาเทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะสำหรับโรงเรือนปลูกพืช Development of Intelligent Root Water Level Control Technology for Greenhouses 
Date of Distribution 28 May 2023 
Conference
     Title of the Conference การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 10 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 8 
     Organiser มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
     Conference Place รูปแบบ Online 
     Province/State รูปแบบ Online 
     Conference Date 28 May 2023 
     To 28 May 2023 
Proceeding Paper
     Volume 10 
     Issue
     Page 933 
     Editors/edition/publisher NEUNIC2023 
     Abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะสำหรับโรงเรือนปลูกพืช โดยทำการทดสอบปลูกมะเขือเทศเชอรี่สายพันธุ์ kingfish ในโรงเรือนขนาด 4X6 ที่มีการควบคุมสภาวะแวดล้อมที่มีการทำงานจริงในภาคสนาม พื้นที่จังหวัดชลบุรี ช่วงเดือนกันยายน – กุมภาพันธ์ 2564-2565 โดย1.พัฒนาระบบเทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะสำหรับโรงเรือนปลูกพืช 2.เปรียบเทียบการเพาะปลูกในดิน กับเทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะสำหรับโรงเรือนปลูกพืช ซึ่งแบ่งการศึกษาทดสอบเปรียบเทียบเป็น 4 หัวข้อคือ 2.1.การทดสอบระบบควบคุมสภาวะแวดล้อม2.2.ทดสอบเปรียบเทียบการเจริญเติบโต2.3ทดสอบเปรียบเทียบค่าเปอร์เซ็นต์บริกซ์( Brix)2.4.ทดสอบเปรียบเทียบปริมาณผลผลิต ซึ่งจากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเพาะปลูกได้ ระบบควบคุมอุณหภูมิ ระบบควบความชื้นสัมพัทธ์สัมพัทธ์ โดยค่าที่เหมาะสมคือ ควบคุมอุณหภูมิ 30 - 41 °C + 2 °C ควบคุมความชื้น 50 ± 5% - 90 ± 5% เปรียบเทียบการเจริญเติบโตอัตราการเติบโตความสูงต้น เทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะสำหรับโรงเรือนปลูกพืชอัตราการเจริญเติบโต 3.9 cm/dayค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ± SD = 3.9 ±0.5 ในขณะที่ การปลูกในระบบดิน อัตราการเติบโต 1.8 cm/dayค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ± SD = 1.8 ±0.3 จึงเห็นได้ว่า อัตราการเติบโตเทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะสำหรับโรงเรือนปลูกพืช เจริญเติบโตเร็วกว่าเป็นสองเท่าของการปลูกในระบบดิน การทดสอบเปรียบเทียบค่าความหวาน เปอร์เซ็นต์บริกซ์( Brix) เทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะค่าความหวาน อัตราการเปอร์เซ็นต์บริกซ์ 13.8 บริกซ์( Brix) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ± SD = 13.8 ±0.8 ในขณะที่ การปลูกในระบบดินอัตราการเปอร์เซ็นต์บริกซ์ 8 บริกซ์ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ± SD = 8 ±0.8 อัตราการเปอร์เซ็นต์บริกซ์เทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะ ค่าความหวานจะมีค่าที่สูงกว่าการปลูกในระบบดิน จำนวนผลต่อต้นเทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะ ได้ดีกว่า 61.5 ผลต่อต้นค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ± SD = 61.5 ±8.1 ในขณะที่ การปลูกในระบบดินอัตราจำนวนผลต่อต้น 9.5 ผลต่อต้น ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ± SD = 9.5 ±3.7 เทคโนโลยีควบคุมระดับน้ำเลี้ยงรากอัจฉริยะ จำนวนผลผลิตที่มากกว่าระบบการเพาะปลูกในดิน 
Author
645040095-3 Mr. PIMOL TUDSE [Main Author]
Engineering Master's Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis true 
ใช้สำหรับสำเร็จการศึกษา ไม่เป็น 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0

<
forum