2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ พระธาตุพนม: ในฐานะพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์กับการศึกษาการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 11 มิถุนายน 2564 
การประชุม
     ชื่อการประชุม งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 20 ประจำปี 2564 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
     สถานที่จัดประชุม คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร 
     จังหวัด/รัฐ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธาน 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 23 มิถุนายน 2566 
     ถึง 23 มิถุนายน 2566 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 20 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 416 
     Editors/edition/publisher งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 20 ประจำปี 2564 
     บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดที่ใช้ศึกษาการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์พระธาตุพนม แนวคิดแรก ได้แก่ แนวคิดเรื่องพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งจะสามารถสะท้อนให้เห็นถึงพระธาตุพนมในฐานะพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่มีความเก่าแก่และมีความสำคัญมากที่สุดของผู้คนที่มีชีวิตในพื้นที่สองฟากฝั่งแม่น้ำโขงระหว่างอีสานและลาวนอกจากนี้ยังใช้แนวคิดการกลายเป็นสินค้าซึ่งเสนอโดยสำนักคิดที่มีทัศนะแตกต่างกัน คือ สำนักแฟรงก์เฟิร์ต โดยธีโอดอร์ อะดอร์โน และแมกซ์ ฮอร์ไคเมอร์ และสำนักวัฒนธรรมศึกษา โดยเรย์มอนด์ วิลเลียมส์ ที่จะช่วยให้เห็นแนวทางการวิเคราะห์การกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมของพระธาตุพนมทั้งมิติที่เป็นคุณูปการเชิงลบและบวก เพื่อเป็นการเปิดประตูขององค์ความรู้อีกบานสำหรับการศึกษาการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมในสังคมยุคสมัยใหม่ อันจะทำให้สามารถเข้าใจสภาพการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิต การบริโภค การเผยแพร่ และการผลิตซ้ำของกระบวนการกลายเป็นสินค้าได้อย่างรอบด้านมากขึ้น 
ผู้เขียน
625080005-4 นาย อรัญ จำนงอุดม [ผู้เขียนหลัก]
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0