ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การคัดเลือกปัจจัยที่อธิบายตัวแบบโครงข่ายประสาทเทียมในการพยากรณ์การเกิดอาชญากรรม |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
12 กุมภาพันธ์ 2553 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมทางวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 11 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับเครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน |
สถานที่จัดประชุม |
อาคารเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
จังหวัด/รัฐ |
ขอนแก่น |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
12 กุมภาพันธ์ 2553 |
ถึง |
12 กุมภาพันธ์ 2553 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
11 |
Issue (เล่มที่) |
PM02 |
หน้าที่พิมพ์ |
201-209 |
Editors/edition/publisher |
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น พิมพ์ที่โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา |
บทคัดย่อ |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดเหตุอาชญากรรม และสามารถอธิบายตัวแบบของสมการพยากรณ์ของการเกิดเหตุอาชญากรรมด้วยแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network Model) ได้เป็นอย่างดี โดยเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพความแม่นยำกับวิธีการทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ชุดข้อมูล Data Set ที่ใช้ในงานวิจัยนี้เป็นข้อมูลจากการเผยแพร่ด้านสังคมและเศรษฐศาสตร์ เมื่อปี ค.ศ.1990 ข้อมูลทางด้านสถิติที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายจากการสำรวจของ LEMAS เมื่อปี ค.ศ.1990 และจากรายงานข้อมูลด้านอาชญากรรมของ FBI UCR เมื่อปี ค.ศ.1995 ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่สามารถอธิบายการเกิดเหตุอาชญากรรมได้เป็นอย่างดีมีทั้งหมด 7 ปัจจัย โดยใช้หลักวิธีเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm) และการพยากรณ์ด้วยแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมแบบแพร่กระจายย้อนกลับ (Backpropagation Algorithm) มีประสิทธิภาพความแม่นยำสูงกว่าวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ ซึ่งวัดค่าสัมประสิทธ์การตัดสินใจ (R-Square) ได้เท่ากับ 0.7708 และค่าคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์น้อยที่สุด (MAE) เท่ากับ 0.1008 |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|