2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ผลของการบริโภคกากงาดำต่อความดันเลือดและสารต้านออกซิเดชันในคนที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันเลือดสูง 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 12 กุมภาพันธ์ 2553 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมทางวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 11 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม อาคารเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 12 กุมภาพันธ์ 2553 
     ถึง 12 กุมภาพันธ์ 2553 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 11 
     Issue (เล่มที่) SD06 
     หน้าที่พิมพ์ 0 ไม่ประสงค์ตีพิมพ์ 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ ABSTRACT The purpose of this study was to investigate the effects of dietary black sesame meal on lowering blood pressure (BP) and enhancing antioxidants in individuals with pre-hypertension. Thirty middle-aged subjects with pre-hypertension were divided into two groups (15 subjects per group) ingesting 2.52 g black sesame meal capsules or placebo per day for 4 weeks. The result showed that 4-wk administration of black sesame meal significantly decreased systolic BP (133.0 ± 10.0 to 124.8 ± 9.6 mmHg, p < 0.05), malondialdehyde levels (1.8 ± 0.9 to 1.3 ± 0.5 mmol/dl, p < 0.05) and increased vitamin E levels (33.5 ± 4.8 to 38.9 ± 14.7 µmol/l, p < 0.01). These results suggested the possible antihypertensive effects of black sesame meal in individuals with pre-hypertension. This may show its beneficial effect on prevention of cardiovascular disease. บทคัดย่อ การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของการบริโภคกากงาดำต่อการลดความดันเลือดและเพิ่มสารต้านออกซิเดชันในอาสาสมัครวัยกลางคนที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันเลือดสูงจำนวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มกากงาดำและยาหลอก กลุ่มละ 15 คน กลุ่มกากงาดำได้รับประทานแคปซูลกากงาดำปริมาณ 2.52 กรัมต่อวัน และกลุ่มยาหลอกได้รับประทานแคปซูลยาหลอก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มกากงาดำมีความดันเลือดซิสโตลิก (133.0 ± 10.0, 124.8 ± 9.6 มม.ปรอท, p < 0.05) และระดับมาลอนไดอัลดีไฮด์ (1.8 ± 0.9, 1.3 ± 0.5 มิลลิโมลต่อเดซิลิตร, p < 0.05) ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่าระดับวิตามินอีในเลือด (33.5 ± 4.8, 38.9 ± 14.7 ไมโครโมลต่อลิตร, p < 0.01) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายหลังจากรับประทานแคปซูลกากงาดำเป็นเวลา 4 สัปดาห์ แต่ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรดังกล่าวในกลุ่มยาหลอก จากผลการศึกษานี้เสนอแนะว่า การบริโภคกากงาดำมีผลลดความดันเลือดและเพิ่มสารต้านออกซิเดชันในคนที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันเลือดสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด Key Words : Sesame, Hypertension, Cardiovascular diseases คำสำคัญ : งา ความดันเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด  
ผู้เขียน
507100014-6 น.ส. จตุพร วิชิตสระน้อย [ผู้เขียนหลัก]
บัณฑิตวิทยาลัย ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ได้รับรางวัล 
     ชื่อรางวัล รางวัลดีเด่น ประเภทบรรยาย ระดับปริญญาเอก กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์สุขภาพ 
     ประเภทรางวัล รางวัลด้านกีฬาและสุขภาพ 
     หน่วยงาน/องค์กรที่มอบรางวัล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     วัน/เดือน/ปี ทีด้รับรางวัล 12 กุมภาพันธ์ 2553 
แนบไฟล์
Citation 0

<
forum