2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชีมหาวิทยาลัยขอนแก่น  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 21 กรกฎาคม 2560 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ การศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ประจำปี 2560 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร 
     สถานที่จัดประชุม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร 
     จังหวัด/รัฐ กรุงเทพมหานคร 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 21 กรกฎาคม 2560 
     ถึง 21 กรกฎาคม 2560 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2560 
     Issue (เล่มที่) Proceeding online ฉบับสมบูรณ์ประมาณเดือนสิงหาคม 2560 
     หน้าที่พิมพ์ 222-234 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น GUIDELINES FOR INTERNAL QUALITY ASSURANCE PARTICIPATORY DEVELOPMENT FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION AND ACCOUNTING KHON KAEN UNIVERSITY อรสา ทองโคตร1และ ประยุทธชูสอน2 OrasaTongkort1 and Dr. Prayuth Chusorn2 E-mail address: torasa@kku.ac.th1 บทคัดย่อ การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริงและที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นการวิจัยเชิงบรรยาย ระยะที่ 1 สำรวจเชิงปริมาณประชากรคืออาจารย์ประจำบุคลากรนักศึกษาจำนวน 2,611 คน กลุ่มตัวอย่างใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน กลุ่มตัวอย่างอาจารย์ประจำบุคลากรนักศึกษาจำนวน 395 คน เครื่องมือเป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงการมีส่วนร่วมที่เป็นจริง .99 การมีส่วนร่วมที่พึงประสงค์ .99 ชุดอาจารย์ประจำบุคลากรชุดนักศึกษาค่าความเที่ยงการมีส่วนร่วมที่เป็นจริง .93 การมีส่วนร่วมที่พึงประสงค์ .89 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความต้องการจำเป็นใช้วิธี(PNImodified) ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางเชิงคุณภาพจัดสนทนากลุ่ม 9 ท่าน การสนทนากลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเนื้อหานำเสนอด้วยการบรรยาย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพที่เป็นจริงและที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในความคิดเห็นอาจารย์ประจำ บุคลากรภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางผลการจัดลำดับความต้องการจำเป็น พบว่าความต้องการจำเป็นตามลำดับ 1)การบริหารจัดการ 2)การวิจัย 3)การผลิตบัณฑิต ความคิดเห็นนักศึกษาระดับสภาพที่เป็นจริงกับระดับสภาพที่พึงประสงค์ภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางผลการจัดลำดับความต้องการจำเป็น พบว่าความต้องการจำเป็นตามลำดับ คือ 1)การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 2)การผลิตบัณฑิต 2. แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในการบริหารจัดการจัดสรรอัตรากำลังเหมาะสมกับภาระงานการวิจัยสร้างช่องทางนำผลงานเผยแพร่ผ่านสื่อการผลิตบัณฑิตมีกระบวนการบริหารจัดการเรียนการสอนการบริการวิชาการสร้างระบบกลไกการมีส่วนร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมจัดสรรเวลาสถานที่จัดกิจกรรมให้เหมาะสม คำสำคัญ : การประกันคุณภาพการศึกษา, แนวทางการพัฒนา, การมีส่วนร่วม 1นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Master of Education Program in Educational Administration, Faculty of Education, KhonKaen University 2ดร.สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Dr. Department of Educational Administration, Faculty of Education, KhonKaen University Abstracts The purpose of this research was to 1) study the actual and prospective condition of participation in the internal quality assurance in the Faculty of Business Administration and Accounting 2) study the approaches of developing the participation in the quality assurance of education within the Faculty of Business Administration and Accounting. This descriptive research was conducted in 2 phases. The first stage was a Quantitative Population Survey carried out on 2,611 lecturers, supporting staff and students in which a Krejcie& Morgan (1970) sampling table was used on 395 lecturers, supporting staff and students. The reliability coefficient was 0.99 in the actual condition and 0.99 in the prospective condition for lecturers and supporting staff sample whereas the reliability coefficient was 0.93 in the actual condition and 0.89 in the prospective condition for student sample. The statistics used in data analysis were percentages, average values, and standard deviation. The order of needs was ranked using the Modified Priority Needs Index (PNImodified). The second phase was the qualitative data collection in which a group discussion was conducted among 9 eminent persons. The content analysis was presented in a descriptive format. The results were as follows: 1. The actual and prospective condition of participation in the internal quality assurance according to the opinions of lecturers and supporting staff were in “moderate” level. The values of PNI modified ranged from the “Management”, “Research” and “Production of graduates” respectively. Likewise the actual and prospective condition of participation in the internal quality assurance according to the opinions of students was in “moderate” level. The values of PNImodified ranged from the “Preservation of Arts and Cultures” and “Production of graduates” respectively. 2. The approaches of developing the participation in the internal quality assurance in the Faculty of Business Administration and Accounting can be concluded as follows: The administrators should allocate proper workload. In addition, researches should have more channels to present. The production of graduates, there should be systemic mechanism to administrate lesson plan. Finally, for academic services, lecturers should be encouraged to participate in community services as well as organize appropriate time, venue and activities in preserving arts and cultures for students. Keywords : quality assurance, education, developmental guidelines, participation  
ผู้เขียน
585050174-5 น.ส. อรสา ทองโคตร [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0