2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title การประเมินค่าความจุทางสิ่งแวดล้อมด้านการจราจรจากหลากหลายปัจจัยบนโครงข่ายถนนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยใช้กระบวนการตัดสินใจอย่างเป็นลำดับชั้น 
Date of Distribution 18 July 2017 
Conference
     Title of the Conference การประชุมวิชาการวิศกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 
     Organiser สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 
     Conference Place ณ เดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 
     Province/State นครราชสีมา 
     Conference Date 18 July 2017 
     To 20 July 2017 
Proceeding Paper
     Volume 22 
     Issue 22 
     Page 393-405 
     Editors/edition/publisher โรงพิมพ์ โชคเจริญมาร์เก็ตติ้ง 505-507 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง นครราชสีมา 30000 
     Abstract บทความนี้ได้นำเอาหลักการความจุทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Capacity, EC) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านการจราจรจากหลากหลายปัจจัย ซึ่งวิธี EC จะต้องอาศัยการหาค่าความจุทางสิ่งแวดล้อม (EC) และปริมาณจราจร เพื่อใช้ระบุค่าดัชนีความเสื่อมทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Deficient Index, EDI) ที่ได้จากการคำนวณด้วยวิธีแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (The Mathematical Modelling Method, MMM) ที่เหมาะสมและในงานวิจัยนี้ได้นำวิธี Analytic Hierarchy Process (AHP) มาประยุกต์ใช้ในการพิจารณาค่าน้ำหนักความสำคัญของปัจจัยผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการจราจร และการประเมินค่าความจุทางสิ่งแวดล้อมด้านจราจรจากหลากหลายปัจจัยอย่างบูรณาการ โดยพิจารณาจากปัจจัยผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3 ปัจจัย พบว่า เมื่อนำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับแต่ละปัจจัยผลกระทบสิ่งแวดล้อมหาค่าความจุทางสิ่งแวดล้อมรวม เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมของถนนช่วงต่างๆ พบว่า ค่าความจุทางสิ่งแวดล้อมที่คำนวณได้ มีค่าที่แตกต่างกันมาก จึงอาจจะไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นตัวกำหนดที่ใช้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม เนื่องจากค่าดังกล่าวไม่สามารถระบุได้ว่าประเด็นผลกระทบสิ่งแวดล้อมทุกปัจจัยอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้วิธีความจุทางสิ่งแวดล้อม จะสามารถระบุได้เพียงว่าบริเวณช่วงถนนต่างๆ มีค่าสูงหรือต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้เท่านั้น ซึ่งไม่สามารถระบุระดับของความรุนแรงของผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันได้ 
Author
575040039-6 Mr. WARANYU AUTTHA [Main Author]
Engineering Master's Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0