2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากร กรณีศึกษา บุคลากรสายสนับสนุน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 24 กันยายน 2560 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชากรทางธุรกิจและนวัติกรรมทางการจัดการ 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ 
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 23 กันยายน 2560 
     ถึง 24 กันยายน 2560 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 317-322 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความผูกพันและปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าคือ บุคลากรสายสนับสนุนสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 134 คน ผลการศึกษา พบว่า ระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ช่วงอายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วย 31 – 40 ปี ระดับการศึกษาของบุคลากรส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส รายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001 – 30,000 บาท และระยะเวลาการปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 6 – 10 ปี การวิเคราะห์เกี่ยวกับระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาการปฏิบัติงาน พบว่า เพศมีระดับความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยอีก 5 ด้าน มีระดับความผูกพันแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร พบว่า สมการ Say ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ เพศ การศึกษา รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาการปฏิบิตงาน สมการ Stay ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ การศึกษา รายได้ต่อเดือน Locus of Control และ Self-Esteem สมการ Strive ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ อายุ การศึกษา และรายได้ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 0.05 0.1  
ผู้เขียน
585740065-7 นาย กฤษณพงษ์ สุ่มศรีสุวรรณ [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0