2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึก โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม Crash Zone In-depth Crash Investigation: The Crash Zone Application 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 19 กรกฎาคม 2560 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการวิศกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22  
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)  
     สถานที่จัดประชุม ณ เดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา  
     จังหวัด/รัฐ นครราชสีมา  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 18 กรกฎาคม 2560 
     ถึง 20 กรกฎาคม 2560 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 22 
     Issue (เล่มที่) 22 
     หน้าที่พิมพ์ 385-392 
     Editors/edition/publisher โรงพิมพ์ โชคเจริญมาร์เก็ตติ้ง 505-507 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง นครราชสีมา 30000  
     บทคัดย่อ ประเทศไทยมีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนที่สูงเป็นอันดับสอง ของโลก (WHO, 2015) ซึ่งจำเป็นต้องมีมาตรการในการแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างเร่งด่วน การสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึกเป็นวิธีการที่สามารถทำให้ระบุสาเหตุของอุบัติเหตุเหล่านั้นได้และนำไปสู่การเสนอแนะมาตรการแก้ไขที่ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้โปรแกรม Crash Zone ในการสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึกเพื่อหาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุและเสนอแนะมาตรการแก้ไขและจำเป็นต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมฯด้วย จึงได้เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์กับโปรแกรม EDCRASH ซึ่งเป็นโปรแกรมที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมีความเที่ยงตรงสูงและเป็นที่ยอมรับในการทำการฟื้นฟูอุบัติเหตุ(Reconstruction) ในส่วนของข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์จะเป็นข้อมูลเชิงกายภาพ เช่น ตำแหน่งของการชน (Impact Position) ค่าการยุบตัวของยวดยาน (Damage Profile) มุมของทิศทางการชนและข้อมูลส่วนอื่นอีก ซึ่งจากการวิเคราะห์พบว่ามีผลการวิเคราะห์พลังงานที่เกิดขึ้นจากการชนและความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปหลังจากการชนมีค่าที่ใกล้เคียงกัน  
ผู้เขียน
575040040-1 นาย วิรุฬห์ ยศมีบุญ [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0