2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ลักษณะทางสรีรวิทยาของสายพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ได้รับชิ้นส่วน QTL ทนแล้ง เมื่อได้รับสภาวะเครียดเค็มและแล้ง 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 23 พฤษภาคม 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 5 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)  
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ  
     จังหวัด/รัฐ กรุงเทพฯ ประเทศไทย 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 23 พฤษภาคม 2561 
     ถึง 24 พฤษภาคม 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 68 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ คัดเลือกสายพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ได้รับชิ้นส่วน QTL ทนแล้ง (CSSL94, 98,103,105 และ 106) เพื่อประเมินลักษณะทางสรีรวิทยาต่อสภาวะเครียดเค็มและแล้ง โดยเปรียบเทียบกับข้าวพันธุ์ KDML105, Pokkali และ DH103 ปลูกในสารละลายธาตุอาหารเป็นเวลา 25 วันแล้วให้ความเครียดเค็ม (150 mM NaCl) และความเครียดแล้ง (20% PEG6000) เป็นเวลา 15 วัน แล้วแยกการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มควบคุมที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหาร 2) กลุ่มที่ได้รับเกลือโซเดียมคลอไรด์ ความเข้มข้น 150 มิลลิโมลาร์ และ 3) กลุ่มที่ได้รับโพลีเอทิลีนไกลคอล6000 ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ หลังจากที่ได้รับความเค็มและแล้งเป็นเวลา 15 วัน ทาการเก็บตัวอย่างเพื่อศึกษา การตอบสนองทางสรีรวิทยา ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะทางสรีรวิทยาที่ตอบสนองต่อความเครียดแล้งที่ใช้บอก ความแตกต่างระหว่างพันธุ์ได้ดี คือ ค่าศักย์ของน้า และปริมาณน้าสัมพัทธ์ในใบ ในขณะที่ความเครียดเค็ม คือ ค่าการรั่วไหลของสารอิเล็กโทรไลต์ และปริมาณโพรลีนในใบ 
ผู้เขียน
587020029-6 นาย เดชอุดม ปามุทา [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิทยาศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Abstract 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ไม่เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0