2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title การเปลี่ยนแปลงของวงมโหรีโคราช 
Date of Distribution 15 June 2018 
Conference
     Title of the Conference การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัย ครั้งที่ 4 
     Organiser มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 
     Conference Place อาคารโอฬารโรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 
     Province/State ลำปาง 
     Conference Date 19 July 2018 
     To 20 July 2018 
Proceeding Paper
     Volume 18 
     Issue
     Page 4-18 
     Editors/edition/publisher  
     Abstract บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวงมโหรีโคราชจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้วิธีการศึกษาทางดนตรีวิทยาเก็บรวบรวมข้อมูลจากภาคสนามนำมาตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและนำเสนอด้วยวิธีพรรณวิเคราะห์ พบว่าวงมโหรี หมายถึงเครื่องดนตรีที่ใช้ในการประโคมแห่นครราชสีมาเป็นที่ตั้งของปราสาทในอารยะธรรมขอม ต่อมายังเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญของกรุงศรีอยุธยา นครราชสีมาจึงได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมทางดนตรีจากกลุ่มวัฒนธรรมกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่มวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมดนตรีจากเขมร และวัฒนธรรมจากภาคกลาง ซึ่งได้ประสมวงดนตรีรูปแบบเฉพาะท้องถิ่นเรียกว่า “วงมโหรีโคราช” มีลักษณะเป็นวงดนตรีประโคมแห่มาตั้งแต่ยุคโบราณพัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลงของวงมโหรีโคราชจากการศึกษาพบการปรับเปลี่ยนรูปแบบตามสภาพสังคมอยู่เสมอ แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ยุคแรกเริ่มมีเครื่องดนตรีประโคมที่พบ จำนวน 6 ชิ้น ต่อมาในสมัยอยุธยา ปรากฏมีเครื่องดนตรี 11 ชิ้น กระทั่งเข้าสู่ช่วงปี พ.ศ.2500-ปัจจุบัน มีการพัฒนาวงมโหรีโคราชดั้งเดิมเปลี่ยนเครื่องดนตรีใหม่ ตัดเครื่องดนตรีดั้งเดิมจนหมด เหลือไว้เพียง “ซอกลาง” เรียกว่า “วงมโหรีโคราชประยุกต์  
Author
585220005-2 Mr. CHANAWAT JOHNJOHO [Main Author]
Fine and Applied Arts Master's Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Poster 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0