2012 ©
             Publication
Journal Publication
Title of Article การเปรียบเทียบการกาจัดสารปฏิชีวนะไตรโคลคาร์บานด้วย Pseudomonas fluorescens MC46 และ Ochrobactrum sp. MC22 ดักติด 
Date of Acceptance 21 December 2018 
Journal
     Title of Journal UBU Engineering Journal 
     Standard TCI 
     Institute of Journal คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยอุบลราชธานี 
     ISBN/ISSN  
     Volume  
     Issue  
     Month
     Year of Publication 2018 
     Page  
     Abstract งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกาจัดสารปฏิชีวนะไตรโคลคาร์บาน (Triclocarban; TCC) ด้วย Pseudomonas fluorescens MC46 และ Ochrobactrum sp. MC22 การศึกษานี้ทดลองเปรียบเทียบการกาจัดสารด้วยจุลินทรีย์ ในรูปเซลล์อิสระและดักติด การทดลองนี้เลือกใช้ สารแบเรียมแอลจิเนตเป็นวัสดุดักติด การทดลองประกอบด้วยการกาจัดสาร TCC และการติดตาม สารมัธยันต์ (Intermediate product) และการศึกษาโครงสร้างของเซลล์ดักติดด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลการศึกษาพบว่าเซลล์ดักติดมีประสิทธิภาพการกาจัด TCC สูงกว่าเซลล์อิสระ (ประสิทธิภาพสูงสุดร้อยละ 53 และ 38 ตามลาดับ) โดย MC46 ดักติดมีประสิทธิภาพสูงกว่า MC22 เล็กน้อย จากผลการติดตามสารมัธยันต์พบว่า เกิดสาร 3,4-ไดคลอโร อะนิลีน 4-คลอโรอะนิลีน และอะนิลีน จุลินทรีย์ทั้งคู่สามารถย่อยสลาย TCC และสารมัธยันต์ทั้งสามได้เป็นอย่างดี สาร TCC ถูกเปลี่ยนเป็นสารที่มีความเป็นพิษลดลง สาหรับผลการศึกษาลักษณะโครงสร้างระดับจุลภาคพบว่า วัสดุดักติดแบเรียมแอลจิเนตมีโครงสร้างเป็นโครงตาข่ายแน่นและมีจุลินทรีย์เกาะตามวัสดุ หลังจากใช้งานมีจุลินทรีย์เจริญเติบโตเป็นจานวนมากในวัสดุ จากผลการศึกษาสามารถกล่าวได้ว่าวัสดุดักติดสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และช่วยปกป้องจุลินทรีย์จากสารพิษส่งผลให้เซลล์ดักติดมีประสิทธิภาพการกาจัด TCC สูง 
     Keyword การดักติดเซลล์ ไตรโคลคาร์บาน แบเรียมแอลจิเนต สารมัธยันต์ 
Author
587040015-5 Mr. PONGSATORN TAWEETANAWANIT [Main Author]
Engineering Doctoral Degree

Reviewing Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Status ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ 
Level of Publication ชาติ 
citation false 
Part of thesis true 
Attach file
Citation 0