2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การศึกษาองค์ประกอบของภาวะผู้นำแบบร่วมพลังของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 26 เมษายน 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมสัมมนาทางวิชาการระดับชาติงานบริหารสัมพันธ์ประจำปี 2562 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย 
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี 
     จังหวัด/รัฐ  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 26 เมษายน 2562 
     ถึง 26 เมษายน 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2562 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 502-668 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของของภาวะผู้นำแบบร่วมพลังของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย ดำเนินการ 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบร่วมพลัง จำนวน 17 เรื่อง เพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำแบบร่วมพลังจากแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ 2) ยืนยันองค์ประกอบของภาวะผู้นำแบบร่วมพลังตามกรอบที่ได้สังเคราะห์จากเอกสาร โดยผู้ทรงคุณวุฒิทางการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ จำนวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำแบบร่วมพลัง มี 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ความไว้วางใจ มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การสร้างคุณงามความดี สมรรถนะ และความซื่อสัตย์สุจริต 2) ความผูกพันต่อองค์การ มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ผูกพันด้านอารมณ์ ผูกพันแบบคงอยู่เสมอ และผูกพันที่เกิดจากบรรทัดฐานของสังคม 3) วิสัยทัศน์ร่วม มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายขององค์กร และบุคลากรเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลง 4) การตัดสินใจร่วม มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการเลือก การใช้สารสนเทศในการตัดสินใจ และเป้าหมายในการตัดสินใจ 5) ความก้าวหน้า มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การพัฒนาตนเอง การเลื่อนตำแหน่ง และกำหนดหน้าที่อย่างเหมาะสม และ 6) การจัดการความเสี่ยง มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ หลีกเลี่ยงความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยง และกระจายความเสี่ยง  
ผู้เขียน
605050093-7 นาย นนทชัย พิมพิสนท์ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0