2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ แรงจูงใจของบุคคลที่ประสบคามสำเร็จ Motivation of Successful Person  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 20 กรกฎาคม 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมสู่ความยั่งยืน” The 6th NEU National and International Conference 2019 (NEUNIC 2019) July 20, 2019 North Eastern  
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอนแก่น ร่วมกับสถาบันการศึกษาเครือข่าย  
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 20 กรกฎาคม 2562 
     ถึง 20 กรกฎาคม 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 1536-1548 
     Editors/edition/publisher มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
     บทคัดย่อ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แรงจูงใจและกระบวนการจูงใจของบุคคลที่ประสบความสำเร็จ กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่ประสบความสำเร็จในอาชีพและเป็นที่ยอมรับจากสังคมว่าเป็นบุคคลที่ประสบความสำเร็จในอาชีพ ซึ่งประเมินได้จากระดับการศึกษา รางวัลที่ได้รับ และสถานะทางสังคม ได้มาโดยวิธีวิธีสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 3 คนคือนายกุลชาติ จุลเพ็ญ นายเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ และนายพันธ์รบ กำลา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ (Secondary Sources) จากหนังสือชีวประวัติ/อัตชีวประวัติ เทปสัมภาษณ์ในรายการ และการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาศึกษาด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่าบุคคลที่ประสบความสำเร็จทั้ง 3 คน มีแรงจูงใจที่เกิดจากความต้องการตามหลัก ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ (Maslow's Hierarchical Theory of Motivation) ทฤษฎีความต้องการของเมอร์เรย์ (Murray’s Manifest Need Theory) และมีการใช้กระบวนการจูงใจตามหลักทฤษฎีความคาดหวังและคุณค่าของแอ๊ตคินสิน (Expectancy Theory) ทฤษฎีเสริมแรง (Theory of Reinforcement) ทฤษฎีการอ้างสาเหตุ (Attribution theory) และทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) 
ผู้เขียน
595050154-2 นาย เลิศพิภพ สุขประเสริฐ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0