2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ รูปแบบและวัสดุของแผงกันแดดที่ใช้ในอาคารพาณิชย์ : กรณีศึกษา เทศบาลนครนครราชสีมา  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 29 มิถุนายน 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5 ประจำปี 2561 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 29 มิถุนายน 2561 
     ถึง 29 มิถุนายน 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 192-202 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและวัสดุของแผงกันแดดและการต่อเติมเพื่อการกันแดด ที่มีการ ใช้งานในอาคารพาณิชย์ ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างคือ อาคารพาณิชย์จำนวน 64 หลัง ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจเก็บข้อมูลทางกายภาพและข้อมูลการกันแดดเดิมของ อาคาร ผลการศึกษา พบว่า 1) ด้านรูปแบบและระยะยื่น กลุ่มตัวอย่างอาคารพาณิชย์ทั้ง 4 ทิศ (ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศ ตะวันออก และทิศตะวันตก) มีรูปแบบการติดตั้งแผงกันแดดแนวนอนทั้งหมด และระยะยื่นของกันสาดชั้นที่ 1 มีค่า เฉลี่ยระหว่างกันสาดเดิมและกันสาดต่อเติมอยู่ที่ 3.00 เมตร ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างอาคารพาณิชย์ที่สำรวจทั้ง 4 ทิศ มีค่า เฉลี่ยของระยะยื่นผ้าใบชักรอกอยู่ที่ 1.58 เมตร 2) ลักษณะและรูปแบบของการกันแดดเดิมของอาคารพาณิชย์ทั้ง 4 ทิศ จะมีรูปแบบจะคล้ายคลึงกัน ประกอบไปด้วย การกันแดดโดยใช้ กันสาด ระเบียง ชายคา แผงกันแดด และราว กันตก ซึ่งส่วนใหญ่วัสดุที่ใช้ประกอบด้วย สังกะสี ไม้ คสล.และอลูมิเนียมคอมโพสิต ในส่วนของอาคารที่มีการต่อเติม การกันแดดนั้น รูปแบบของการต่อเติมการกันแดดในทิศใต้และทิศเหนือจะมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ มีการ ตอ่เตมิแผงกนัแดดในแนวนอนรว่มกบัการตดิตงั้ผา้ใบชกัรอกเพอ่ืปอ้งกนัแนวทอดต่ำของดวงอาทติย์ และรปูแบบของ การกันแดดในทิศตะวันออกและตะวันตกมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกันเช่นเดียวกัน คือ โดยส่วนใหญ่เป็นการติดตั้งการ กนัแดดในรปูแบบของผา้ใบชกัรอก เนอื่งจากมคีวามยดืหยนุ่ในการใชง้านทำใหส้ามารถปรบัเปลย่ีนการกนัแดดไดต้าม ชว่งเวลาทตี่อ้งการ จากการสำรวจแลว้พบวา่อาคารพาณชิยส์ว่นใหญไ่มม่กีารคำนงึถงึการกนัแดดตง้ัแตใ่นขนั้ตอนการ กอ่สรา้ง ทำใหไ้มม่พีนื้ทเ่ีพยีงพอสำหรบัการตดิตงั้แผงกนัแดด เนอื่งจากขอ้จำกดัทางดา้นกฎหมายระยะรน่ของอาคาร จึงเกิดการต่อเติมการกันแดดล้ำที่สาธารณะ งานวิจัยนี้จึงเป็นการสร้างฐานข้อมูลการสำรวจเชิงวิชาการที่สามารถนำไปประยกุตแ์ละปรบัปรงุการตดิตงั้ รวมถงึปรบัปรงุคณุภาพอปุกรณแ์ผงกนัแดดสำหรบัอาคารพาณชิยใ์หเ้หมาะสมกบั การใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้งานในอาคารอยู่สบาย ประหยัดพลังงาน และช่วยสร้างทัศนียภาพที่ดีของเมือง  
ผู้เขียน
595200013-6 น.ส. ไอยรดา ทางตะคุ [ผู้เขียนหลัก]
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0