2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การประเมินการฟื้นฟูสภาพป่าหลังการเกิดไฟป่าโดยการใช้เทคนิคการรับรู้ระยะไกล 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 14 ธันวาคม 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม นเรศวร ครั้งที่ 3 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยนเรศวร 
     สถานที่จัดประชุม อาคารศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสิ่งสาร มหาวิทยาลับนเรศวร  
     จังหวัด/รัฐ พิษณุโลก 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 14 ธันวาคม 2561 
     ถึง 14 ธันวาคม 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 53 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ ไฟป่าเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในประเทศไทยซึ่งการเกิดในแต่ละครั้งนั้นมีระดับความรุนแรงไม่เท่ากัน ดังนั้นการมีข้อมูลการฟื้นกลับคืนของป่าในผืนที่เผาไหม้ในแต่ละระดับนั้นจึงมีความสาคัญต่อการบริหารจัดการ พื้นที่ การศึกษาครั้งนี้ทาขึ้นเพื่อระบุระดับความรุนแรงของการไฟไหม้ป่าและอัตราการฟื้นคืนของป่าในบริเวณ นั้นในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึงโดยใช้ดัชนีที่คานวณได้จากภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ข้อมูลภาพที่ใช้จะ อยู่ระหว่างปีพ.ศ. 2542-2559 ซึ่งเลือกมาให้ครอบคลุมช่วงเวลาก่อนเกิดและหลังเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ แผนที่ แสดงระดับความรุนแรงของไฟป่าจะสร้างขึ้นโดยใช้ดัชนี Normalized Burn Ratio (NBR) และ Difference Normalized Burn Ratio (dNBR) ซึ่งจะแบ่งความรุนแรงออกเป็น 6 ระดับ ขั้นตอนต่อมาดัชนี Burn Recovery Ratio (BRR) จะถูกนามาใช้ในการประเมินระดับการฟื้นคืนของพื้นที่ป่าเป็นร้อยละระหว่างก่อนและ หลังในพื้นที่ที่เกิดไฟไหม้ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ในปีพ.ศ. 2543 อยู่ใน ระดับปานกลางถึงรุนแรง นอกจากนี้จากดัชนี BRR บ่งชี้ว่า อัตราการฟื้นคืนของพืชพรรณในพื้นที่ดังกล่าวจะ กลับคืนสู่ระดับก่อนเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ได้ในเวลา 5 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของพืชพรรณอีกด้วย คาสาคัญ: อัตราส่วนการเผาไหม้, ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้, คานวณอันตราการฟื้นตัวของป่า 
ผู้เขียน
595020116-8 นาย รณกร งิ้วพรม [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิทยาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0