2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ แนวทางการเพิ่มยอดผู้ใช้บริการโมบายแบงก์กิ้งของธนาคารออมสิน สาขาท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 21 กันยายน 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ ประจำปี 2562 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 21 กันยายน 2562 
     ถึง 21 กันยายน 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) (ปีที่ 6) พ.ศ. 2562  
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 845-851 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโมบาย แบงก์กิ้งของธนาคารออมสิน สาขาท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม 2) เพื่อกาหนดแนวทางการเพิ่มยอดผู้ใช้บริการโมบายแบงก์กิ้งของธนาคารออมสิน สาขาท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม ทาการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จานวน 400 ชุด โดยใช้สถิติการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการโมบายแบงก์กิ้ง ให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และบริการ มากที่สุด รองลงมา คือ ด้านช่องทางการให้บริการ ความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการใช้บริการโมบายแบงก์กิ้ง ให้ความพึงพอใจกับด้านช่องทางการให้บริการ รองลงมา คือ ด้านกระบวนการใช้งาน พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ยกเว้น 3 ด้านคือ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านพนักงานผู้ให้บริการ ซึ่งระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ดังนั้นเพื่อกาหนดแนวทางการเพิ่มยอดผู้ใช้บริการโมบายแบงก์กิ้งของธนาคารออมสิน สาขาท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม ผู้ศึกษาจึงนำปัจจัยทั้ง 3 ที่อยู่ในระดับปานกลางมาปรับปรุง ทำให้เกิดโครงการ ดังนี้ โครงการที่ 1 MyMo By GSB (Mobile App) โครงการที่ 2 พนักงานรอบรู้-ลูกค้าอุ่นใจ โครงการที่ 3 "พร้อมเพย์ พร้อมโอน" 
ผู้เขียน
605740086-1 น.ส. ศิรประภา รักเอี่ยมสะอาด [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0