2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ผลของต ำแหน่งกรีดบนล ำต้นต่อผลผลิตและคุณภำพน ้ำยำง ในยำงพำรำสำยพันธุ์ RRIM600  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 9 มีนาคม 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 9 มีนาคม 2561 
     ถึง 9 มีนาคม 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 19 
     Issue (เล่มที่) 19 
     หน้าที่พิมพ์ 505-512 
     Editors/edition/publisher ประสงค์ ต่อโชติและคณะ/350/โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     บทคัดย่อ ตำแหน่งเปิดกรีดยางพาราส่งผลโดยตรงต่อปริมาณผลผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงการกรีดยางต้องอยู่ใน ตำแหน่งที่เหมาะสม ซึ่งปัจจุบันเกษตรกรมีการใช้ตำแหน่งการเปิดกรีดยางอยู่หลายระดับความสูงจากพื้นดิน แต่ยังไม่มี การรายงานผลถึงปริมาณผลผลิตที่ได้จากการเปิดกรีดแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจน จึงทำการศึกษาผลของตำแหน่งกรีดที่ ระดับความสูงต่างกันบนลำต้นของยางพารา ดำเนินการทดลองโดยทำการสุ่มคัดเลือกต้นจากต้นที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 เซนติเมตรที่ระดับความสูง 150 เซนติเมตรจากพื้นดิน จ านวน 9 ต้น ทำการกรีดระดับความสูงที่กรีดมี 4 ระดับคือ 50, 100, 150 และ 200 เซนติเมตรจากพื้นดิน จากการทดลองพบว่า ปริมาณผลผลิตน้ำยางสด และผลผลิตยาง แห้ง ที่การกรีดระดับความสูง 50 เซนติเมตร ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด (P≤0.001) กับระดับความสูงอื่น แต่อย่างไรก็ตามใน ด้านคุณภาพของน้ำยาง พบว่าปริมาณของแข็งทั้งหมด (TSC) ซูโครส, อนินทรีย์ฟอสฟอรัส และไธออล ไม่มีความ แตกต่างกันทุกระดับความสูงที่กรีด ผลการทดลองที่ได้สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการการเปิดกรีดยางในระดับที่ เหมาะสมต่อไป  
ผู้เขียน
595030070-0 น.ส. วรรณทนีย์ มีลุน [ผู้เขียนหลัก]
คณะเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0