2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ความชุกของการติดเชื้อ Human Papillomavirus ในเนื้อเยื่อมะเร็งรังไข่ชนิดเนื้อเยื่อบุผิวของผู้ป่วยทางภาคตะวันออกเฉียงเนือของประเทศไทย 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 26 เมษายน 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม RSU National Research Conference 2019 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม Rangsit University (Thailand) 
     สถานที่จัดประชุม อาคารพระพิฆเณศ (STUDENT CENTER) (อาคาร 6) มหาวิทยาลัยรังสิต 
     จังหวัด/รัฐ  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 26 เมษายน 2562 
     ถึง 26 เมษายน 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2019 
     Issue (เล่มที่) ISBN: 978-616-421-081-3 
     หน้าที่พิมพ์ 150-162 
     Editors/edition/publisher ณัฐพร เซ็นน้อย, ณัฐชา ภัทรผดุงกิจ, ทิพยา เอกลักษณานันท์, พิไลวรรณ กลีบแก้ว, จุรีภรณ์ เชื้อดวงผุย, และ แจ่มใส เพียรทอง 
     บทคัดย่อ บทบาทของเช้ือไวรัสฮิวแมนปาปิ ลโลมา (เอชพีวี) ในมะเร็งรังไข่ยงัคงมีขอ้ถกเถียงกนัอยู่การศึกษาน้ีจึงได้ ตรวจหาการติดเช้ือเอชพีวีในเน้ือเยอื่ รังไข่ที่ผา่ นการ embedded อยใู่ นพาราฟินบลอ็กกลุ่มตวัอยา่ งประกอบดว้ยเน้ือเยื่อ รังไข่ปกติเน้ืองอกรังไข่และมะเร็งรังไข่ชนิดเน้ือเยื่อบุผิวจากผูป้่วยในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและ ประเมินความสัมพนัธ์ระหวา่ งการติดเช้ือเอชพีวีและลกัษณะทางจุลพยาธิวิทยาของช้ืนเน้ือ ดีเอ็นเอที่สกดัถูกตรวจหา เอชพีวีและไทป์ของเช้ือไวรัส โดยใช้เทคนิคเรี ยลไทม์พีซีอาร์และ reverse line blot hybridization ตามล าดับ ผล การศึกษาพบวา่ ความชุกของเอชพีวีในกลุ่มตวัอยา่ งมะเร็งรังไข่(ร้อยละ32) พบไดส้ ูงกวา่ ที่พบในรังไข่ปกติ(ร้อยละ 25) และ เน้ืองอกรังไข่ (ร้อยละ 26) ซ่ึงไม่แตกต่างกนัอยา่ งมีนยัสา คญั พบการติดเช้ือไวรัสชนิดมีความเสี่ยงสูงไทป์16 ไดบ้ ่อยที่สุด แต่ไม่มีความแตกต่างอยา่ งมีนยัสา คญั ระหวา่ งกลุ่มตวัอยา่ ง พบแบบแผนการติดเช้ือของเอชพีวีไทป์ เดียว และแบบผสม (สองไทป์หรือมากกวา)่ ได้ในทุกกลุ่มตวัอยา่ งโดยพบแบบแผนการติดเช้ือเอชพีวีแบบผสมได้มากกวา่ ชนิดไทป์เดียวในกลุ่มเน้ืองอกและมะเร็งรังไข่การศึกษาความสัมพนัธ์ระหว่างการติดเช้ือเอชพีวีกบัลกั ษณะทางจุล พยาธิวิทยาพบวา่ การติดเช้ือเอชพีวีมีความสัมพนัธ์กบั เน้ืองอกรังไข่ชนิด serous (ร้อยละ 11)และ mucinous (ร้อยละ 12)และพบมากในมะเร็งรังไข่ชนิด serous (ร้อยละ 21)ผลการศึกษาน้ีแสดงใหเ้ห็นวา่ มีการติดเช้ือเอชพีวรี่วมกนั หลาย ไทป์ในเน้ือเยื่อรังไข่และการติดเช้ือเอชพีวีมีความสัมพันธ์กบัการเกิดเน้ืองอกรังไข่ชนิด serous และ mucinous และ มะเร็งรังไข่ชนิด serous ดงัน้นั เอชพีวอีาจมีบทบาทต่อการเกิดเน้ืองอกรังไข่และมะเร็งรังไข่บางชนิด ค ำส ำคัญ: ฮิวแมนปาปิ ลโลมาไวรัส มะเร็งรังไข่ชนิดเยื่อบุผิว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 
ผู้เขียน
595070025-1 น.ส. ณัฐพร เซ็นน้อย [ผู้เขียนหลัก]
คณะแพทยศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0