2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ ปัจจัยด้านผู้ปกครองที่สัมพันธ์กับการใช้เวลาหน้าจอของเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กวัยก่อนเรียน เขตเทศบาลนครขอนแก่น 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 5 สิงหาคม 2563 
วารสาร
     ชื่อวารสาร ศรีนครินทร์เวชสาร 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     ISBN/ISSN  
     ปีที่ 35 
     ฉบับที่
     เดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2563 
     หน้า  
     บทคัดย่อ หลักการและวัตถุประสงค์: ปัจจุบันเด็กใช้สื่อหน้าจอเพิ่มมากข้ึนต้งัแต่อายุนอ้ยผู้ปกครองมีบทบาทส าคัญ กบั ใช้เวลาหน้าจอของเด็ก การศึกษาน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านผู้ปกครองที่ ประกอบด้วยการรับรู้และพฤติกรรมของผปู้กครองเกี่ยวกบัการควบคุมหนา้จอของเด็กและระยะเวลาการใช้ เวลาหนา้จอของผปู้กครองกบัการใชเ้วลาหนา้จอของเด็ก วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวางในกลุ่มตวัอยา่ งที่เป็ นผู้ปกครองและเด็กอายุ 2-5 ปีในศูนย์ พฒั นาเด็กวยัก่อนเรียน เขตเทศบาลนครขอนแก่น จา นวน 300คู่ เก็บขอ้ มูลการรับรู้ของผูป้กครองเกี่ยวกบั การใช้เวลาหน้าจอของเด็ก พฤติกรรมของผูป้กครองเกี่ยวกบัการควบคุมการใชเ้วลาหนา้จอของเด็กการใช้ เวลาหน้าจอของผู้ปกครองและของเด็กโดยใช้แบบสอบถามแบบให้ตอบเอง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ ปัจจัยด้านผปู้กครองกบัการใชเ้วลาหนา้จอของเด็กโดยใช้สถิติถดถอยพหุโลจิสติก ผลการศึกษา: เด็กร้อยละ85.7และผปู้กครองร้อยละ83.3 ใชเ้วลาหนา้จอมากกวา่ 1 ชวั่ โมง/วนั การรับรู้ของ ผปู้กครองเกี่ยวกบัการใชเ้วลาหนา้จอของเด็กอยใู่ นระดบั สูงและปานกลาง ร้อยละ 58.7และ 40.6 ตามล าดับ พฤติกรรมของผปู้กครองเกี่ยวกบัการควบคุมการใชเ้วลาหนา้จอของเด็กอยูใ่ นระดบั ปานกลางและระดบั สูง ร้อยละ 58.0 และ 39.3 ตามล าดับ การวิเคราะห์ความสัมพนัธ์พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพนัธ์กบัการใชเ้วลา หน้าจอของเด็ก >1 ชั่วโมง/วนั อย่างมีนัยส าคญั ทางสถิติโดยควบคุมตัวแปรเพศและอายุของผู้ปกครอง ไดแ้ก่การรับรู้อุปสรรคในการควบคุมการใช้เวลาหน้าจอของเด็กระดับปานกลาง-สูง (ORadj 2.93, 95% CI: 1.22-7.05) พฤติกรรมของผูป้กครองเกี่ยวกบัการควบคุมการใช้เวลาหนา้จอของเด็กในระดบั ต่า -ปานกลาง (ORadj2.89, 95% CI:1.29-6.53) และเวลาหน้าจอของผู้ปกครอง >1 ชวั่ โมง/วนั (ORadj5.51, 95% CI: 2.57- 11.83) สรุป: เด็กส่วนใหญ่ใชเ้วลาหนา้จอมากกวา่ ค่าที่แนะนา (> 1 ชวั่ โมง/วนั )ควรแนะน าให้ผู้ปกครองตระหนัก ถึงผลเสียของการใช้เวลาหน้าจอของเด็ก หลีกเลี่ยงการใช้เวลาหน้าจอต่อหน้าเด็กและสนับสนุนให้เด็กมี กิจกรรมทางกายมากข้ึนเพื่อลดการใชเ้วลาหนา้จอ 
     คำสำคัญ ผู้ปกครอง, เด็ก, ปัจจัยด้านผู้ปกครอง, เวลาหน้าจอ 
ผู้เขียน
615110009-0 นาง อารุณลักษณ์ คงยัง [ผู้เขียนหลัก]
คณะสาธารณสุขศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation ไม่มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0