2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ SIMULATION MODEL OF THE QUEUING SYSTEM USING ARENA SIMULATION SOFTWARE: A CASE STUDY OF MEDICAL RECORDS DEPARTMENT AND OUTPATIENT DEPARTMENT OF THE HOSPITAL 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 
การประชุม
     ชื่อการประชุม 16th National and International Conference on Administration and Management 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม Mahanakorn University of Technology 
     สถานที่จัดประชุม Mahanakorn University of Technology 
     จังหวัด/รัฐ Bangkok 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 9 กุมภาพันธ์ 2567 
     ถึง 9 กุมภาพันธ์ 2567 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจําลองการไหลของระบบแถวคอยโดยใช้ข้อมูลจากการเข้ารับบริการของผู้ป่วยในแผนกเวชระเบียนและคลินิกโรคเลือดและต่อมนํ้าเหลืองของโรงพยาบาลกรณีศึกษาซึ่งเริ่มจากการศึกษารูปแบบของระบบแถวคอยและการไหลของระบบแถวคอยการวิเคราะห์การกระจายของข้อมูลการจําลองสถานการณ์การยืนยันความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการจําลองสถานการณ์จากการศึกษาพบว่าผู้รับบริการมีรูปแบบของระบบแถวคอยเป็นM/M/S : FCFS/∞/∞และเข้ารับบริการในระบบตั้งแต่การมาถึงของผู้ป่วยการลงทะเบียนการคัดกรองด่านหน้าแผนกเวชระเบียนสําหรับผู้ป่วยใหม่และเก่าการวัดความดันการชั่งนํ้าหนักแผนกอายุรกรรมการพบแพทย์และการพบพยาบาลจากการวิเคราะห์การกระจายของข้อมูลเวลาในระบบแถวคอยโดยใช้โปรแกรม Minitab แสดงว่าขั้นตอนต่างๆในระบบแถวคอยมีลักษณะการกระจายที่แตกต่างกันการจําลองสถานการณ์ของระบบแถวคอยถูกสร้างขึ้นจากข้อมูลจริงของกรณีศึกษาบนโปรแกรมสําเร็จรูป Arena และทดสอบทางสถิติเพื่อยืนยันความถูกต้องของการจําลองสถานการณ์ดังกล่าวด้วยวิธี One-Sample T ที่ช่วงควา มเชื่อมั่น95% ผลลัพธ์แสดงว่าแบบจําลองสถานการณ์ที่สร้างขึ้นไม่แตกต่างจากสถานการณ์จริงของกรณีศึกษาที่ระดับนัยสําคัญ 0.05นั่นคือเมื่อมีการออกแบบระบบแถวคอยใหม่ในอนาคตสามารถดําเนินการบนแบบจําลองนี้เพื่อลดความเสี่ยงจากผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการปรับปรุงระบบทํางานจริง 
ผู้เขียน
645040054-7 น.ส. จิณห์วรา พร้อมจะบก [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0