ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การเสริมเมล็ดฝักหางนกยูงบดต่อการการกินได้ การย่อยได้และกระบวนการหมักในรูเมนของโคเนื้อพื้นเมืองไทย |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
28 กรกฎาคม 2559 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการสัตวศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 5 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
สถานที่จัดประชุม |
โรงแรมพูลแมน ขอนแก่น ราชาออคิด |
จังหวัด/รัฐ |
ขอนแก่น |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
28 กรกฎาคม 2559 |
ถึง |
29 กรกฎาคม 2559 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
44 |
Issue (เล่มที่) |
2 |
หน้าที่พิมพ์ |
9-16 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
การวิจัยครั ้งนี ้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการเสริมเมล็ดฝักหางนกยูงบด (Delonix regiaseeds meal)
ต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้ และกระบวนการหมักในรูเมนของโคพื ้นเมืองไทยเพศผู้โคมีน ้าหนักตัวเฉลี่ย 1005.0
กิโลกรัม จ านวน 4 ตัว วางแผนการทดลองแบบ 4x4 Latin square design โดยปัจจัยทดลองที่ศึกษา ได้แก่ เมล็ดหาง
นกยูงบด 0, 90, 180, 270 กรัม/ตัว/วัน ตามล าดับ ผลการทดลองพบว่า การกินได้รวมของกลุ่มที่ได้รับการเสริมเมล็ดฝัก
หางนกยูงบดมีค่าสูงขึ ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (P<0.01) อย่างไรก็ตาม ความสามารถในการย่อยได้ของโภชนะ
ได้แก่ วัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ โปรตีน เยื่อใย NDF และ เยื่อใย ADF มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ(P>0.05) ขณะเดียวกันการ
เสริมเมล็ดฝักหางนกยูงบด ที่ระดับ 270 กรัม/ตัว/วัน พบว่าจะท าให้ค่าความเข้มข้นของ แอมโมเนีย-ไนโตรเจนในกระเพาะ
รูเมนและความเข้มข้นของค่ายูเรียในเลือดเพิ่มสูงขึ ้น (P<0.05) นอกจากนี ้การเสริมเมล็ดฝักหางนกยูงบด ท าให้ประชากร
ของโปรโตซัวในกระเพาะรูเมนลดลง ดังนั ้น การเสริมเมล็ดฝักหางนกยูงบดสามารถปรับปรุงความสามารถในการกินได้
การใช้ประโยชน์ของโภชนะ และกระบวนการหมักในรูเมนในโคพื ้นเมืองไทยที่ได้รับฟางข้าว |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|