ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การเตรียมบริบทสำหรับการนำการพัฒนาวิชาชีพครูแบบญี่ปุ่นที่เรียกว่า "การศึกษาชั้นเรียน" มาใช้ในประเทศไทย |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
10 พฤษภาคม 2564 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการด้านคณิตศาสตรศึกษา ครั้งที่ 6 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
สมาคมคณิตศาสตรศึกษา |
สถานที่จัดประชุม |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
จังหวัด/รัฐ |
สงขลา |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
15 กุมภาพันธ์ 2563 |
ถึง |
17 กุมภาพันธ์ 2553 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
- |
Issue (เล่มที่) |
- |
หน้าที่พิมพ์ |
32 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
ในการพัฒนาประเทศมีความพยายามนํานวัตกรรมหรือแนวคิดใหม่ๆ มาใช้ในเมืองไทยโด. พยายามส่วนใหญ่มักประสบกับความล้มเหลวหรือไม่สามารถดําเนินการได้อย่างต่อเนื่อง สาเหตุหนึ่งมาจาก เตรียมบริบทเพื่อการใช้นวัตกรรมหรือแนวคิดดังกล่าว การพัฒนาวิชาชีพครูของญี่ปุ่นที่เรียกว่า “การศึกษะ นวัตกรรมที่ได้รับการพัฒนาและใช้ในประเทศญี่ปุ่นมาตั้งแต่เมื่อประมาณ 130 ปีที่แล้ว (Shimizu 200ะ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียมบริบทสําหรับการนําการพัฒนาวิชาชีพครูแบบญี่ปุ่นที่เรียกว่า “การสือ " มาใช้ในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์เอกสาร เพื่อศึกษาการเตรียมบริบท ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมลลา.. รายงานที่เกี่ยวข้อง จํานวน 10เรื่อง หนังสือที่เกี่ยวข้องจํานวน 2 เล่มและเอกสารประกอบการประชุม อบรมและ จํานวน 3 เรื่อง จากการศึกษาสรุปได้ว่าการเตรียมบริบทสําหรับการนําการพัฒนาวิชาชีครูแบบญี่ปุ่นที่เรียกว่า
การศึกษาชั้นเรียน” มาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย 1) การให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-5 ได้เรียน กระบวนการศึกษาชั้นเรียน เช่น การวางแผนการสอนร่วมกันเพื่อนําไปใช้จริงในโรงเรียน ร่วมสะท้อนถึงผลที่เกิดจากการ นําแผนการสอนที่สร้างขึ้นไปใช้จริงในโรงเรียน การได้เรียนรู้กิจกรรมที่เน้นการคิดวิเคราะห์ การทํางานร่วมกัน 2) การ เปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครูประจําการ รวมทั้ง การเข้าร่วมโครงการพัฒนาวิชาชีพครูระยะยาวที่ให้นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาได้ทํางานร่วมกับครูประจําการตลอด อย่างเป็นระบบ 3) การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับครูประจําการเกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการบูร ณาการด้านเนื้อหา ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบ เปิด 4) การเตรียมด้านบริหารจัดการงานวิชาการสําหรับโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน อย่างเช่น การจัดสรร เวลาเพื่อวางแผนการสอน สะท้อนผลร่วมกัน การจัดตารางเรียนเพื่อให้ทีมศึกษาชั้นเรียนเข้าร่วมสังเกตชั้นเรียนได้
|
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Abstract |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|