2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ผลของประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สืบเสาะผ่านบอร์ดเกมดิจิทัล เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ที่มีต่อการยอมรับเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 2 มิถุนายน 2564 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 8 และนานาชาติ ครั้งที่ 4 นวศึกษาที่ยั่งยืนในช่วงเวลาแห่งความท้าทาย 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  
     สถานที่จัดประชุม ระบบออนไลน์เต็มรูปแบบ 
     จังหวัด/รัฐ
     ช่วงวันที่จัดประชุม 1 มิถุนายน 2564 
     ถึง 2 มิถุนายน 2564 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 1438-1453 
     Editors/edition/publisher หทัยรัตน์ สุรางค์กุล และนิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ 
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบและพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สืบเสาะโดยใช้บอร์ดเกมดิจิทัล เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 2) ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้แบบบอร์ดเกมดิจิทัล เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (มอดินแดง) จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจ านวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้สืบเสาะ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 2) บอร์ดเกมดิจิทัล เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1) แบบสอบถามการยอมรับเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 24 ข้อ สำรวจหลังจากที่นักเรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ดังกล่าว พร้อมทั้งวิเคราะห์จำแนกนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยบนพื้นฐานคุณสมบัติจำเพาะบุคคล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ (MANOVA) ผลการวิจัยในครั้งนี้ พบว่านักเรียนกลุ่มที่มีประสบการณ์เดิมจำเพาะบุคคลที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเกม 
ผู้เขียน
625050121-0 น.ส. หทัยรัตน์ สุรางค์กุล [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0