2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ กรอบแนวคิดและการออกแบบดิจิทัลบอร์ดเกม เพื่อส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การอ่านออก เสียงโฟนิกส์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 18 พฤศจิกายน 2565 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ โสตฯ-เทคโนฯ สัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35 (NCECT2022) 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สาขาวิชานวัตกรรม เทคโนโลยีและวิทยาการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (ThaiAECT) และสมาคมเมตาเวิร์สแห่งประเทศไทย 
     สถานที่จัดประชุม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 4 พฤศจิกายน 2565 
     ถึง 6 พฤศจิกายน 2565 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 35 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 140-150 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีของดิจิทัลบอร์ดเกม เพื่อส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์ เรื่อง การอ่านออกเสียงโฟนิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ ผู้เชี่ยวชาญใน การตรวจสอบกรอบแนวคิดทฤษฎีการออกแบบดิจิทัลบอร์ดเกมฯ จำนวน 5 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียน้านนาก้านเหลือง อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 26 คน รูปแบบการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่การ วิจัยเอกสารและการวิจัยเชิงสำรวจ มีขั้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาหลักการทฤษฎี 2) การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3) ศึกษา บริบทที่เกี่ยวข้อง 4) สังเคราะห์กรอบแนวคิดทฤษฎีและกรอบแนวคิดการออกแบบดิจิทัลบอร์ดเกมฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ได้แก่ แบบสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียน แบบบันทึกการสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี แบบบันทึกการสังเคราะห์ กรอบแนวคิดการออกแบบ แบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุป ตีความและบรรยายเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีมีพื้นฐานเชิงทฤษฎีที่สำคัญ 5 พื้นฐาน ดังนี้ 1) พื้นฐานจิตวิทยาการเรียนรู้ 2) พื้นฐานศาสตร์การสอน 3) พื้นฐานบริบท 4) พื้นฐานการคิดสร้างสรรค์ 5) พื้นฐานทฤษฎีสื่อและเทคโนโลยี และกรอบแนวคิด การออกแบบ  
ผู้เขียน
645050223-4 น.ส. พัชรี ราชแสง [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0