2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ อัตลักษณ์ผ้าปักดิ้งคำหลวงพระบางสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 2 สิงหาคม 2567 
การประชุม
     ชื่อการประชุม ประชุมวิชาการศิลปกรรม 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม คณะศิลปกรรมศาสตร์ 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 2 สิงหาคม 2567 
     ถึง 3 สิงหาคม 2567 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 10 
     Issue (เล่มที่) 10 
     หน้าที่พิมพ์ 10 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ วัฒนธรรมล้านช้างหลวงพระบางโบราณปรากฏงานศิลปกรรมที่มีลักษณะอันโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์มากที่สุดคือ “ผ้าปักดิ้งคำ” ซึ่งนับว่าเป็นงานศิลปกรรมในรูปแบบงานศิลปะที่แฝงด้วยคติความเชื่อและอุดมการณ์ทางการเมืองของกษัตริย์ลาวล้านช้างโบราณ นับตั้งแต่ช่วงอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง จวบจนถึงสิ้นสุดสมัยยุคสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราวค.ศ. 1975–1991 (พ.ศ. 2518-2534) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาผ้าปักดิ้งคำหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการวิจัยพบว่า ผ้าปักดิ้งคำ งานปักทองลาว สืบทอดจาก วัฒนธรรมราชสำนักหลวงพระบาง ที่มีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับจีน ล้านนาและไทย ในด้านเทคนิค การปัก นั้นแสดงชัดเจน ในความสัมพันธ์กับสามวัฒนธรรม ลวดลาย มงคลแปด ของพระพุทธศาสนามหายาน จากจีน ที่นำมาใช้ในราชสำนักหลวงพระบาง ลวดลายสัตว์หิมพานต์ จากสัญวิทยาล้านนา ลวดลาย กรวยเชิง ที่ใกล้ชิดกับลายไทย ในขณะที่ ลาวมีพัฒนาการในการจัดองค์ประกอบที่นำมาประยุกต์ในรูปแบบ และองค์ประกอบลวดลายแบบลาว ซึ่งหลังจากราชสำนักลาวล้มสลาย ได้นำมาฟื้นฟูใหม่ ในเมืองหลวงพระบางซึ่งเป็นเมืองมรดกโลก โดยเฉพาะงานสงกรานต์ ที่คนลาวทั่วโลก มาร่วมงาน จึงมีเอกลักษณ์แตกต่างจากไทย ที่การใช้งาน ลาวจะปักปกเสื้อปั้ด ในขณะที่ราชสำนักไทย ไม่ใช้การปักปักเสื้อ ลาวจะปักผ้าซิ่น แต่ไทยจะนิยมการทอ ลายจะปักตกแต่งคอเสื้อแขนเสื้อ แต่ไทยไม่ปัก มีที่นิยมร่วมกันคือ ปักหน้าหมอน แต่ไทยนิยมปักไหมสี มากกว่าดิ้นทองล้วนไปแบบลาว แม้ว่าลวดลายจะใช้สัญวิทยาร่วมกัน  
ผู้เขียน
657220008-7 นาย มัธยม อ่อนจันทร์ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0

<
forum