2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การเปลี่ยนแปลงของวงมโหรีโคราช 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 15 มิถุนายน 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัย ครั้งที่ 4 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 
     สถานที่จัดประชุม อาคารโอฬารโรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 
     จังหวัด/รัฐ ลำปาง 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 19 กรกฎาคม 2561 
     ถึง 20 กรกฎาคม 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 18 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 4-18 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวงมโหรีโคราชจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้วิธีการศึกษาทางดนตรีวิทยาเก็บรวบรวมข้อมูลจากภาคสนามนำมาตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและนำเสนอด้วยวิธีพรรณวิเคราะห์ พบว่าวงมโหรี หมายถึงเครื่องดนตรีที่ใช้ในการประโคมแห่นครราชสีมาเป็นที่ตั้งของปราสาทในอารยะธรรมขอม ต่อมายังเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญของกรุงศรีอยุธยา นครราชสีมาจึงได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมทางดนตรีจากกลุ่มวัฒนธรรมกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่มวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมดนตรีจากเขมร และวัฒนธรรมจากภาคกลาง ซึ่งได้ประสมวงดนตรีรูปแบบเฉพาะท้องถิ่นเรียกว่า “วงมโหรีโคราช” มีลักษณะเป็นวงดนตรีประโคมแห่มาตั้งแต่ยุคโบราณพัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลงของวงมโหรีโคราชจากการศึกษาพบการปรับเปลี่ยนรูปแบบตามสภาพสังคมอยู่เสมอ แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ยุคแรกเริ่มมีเครื่องดนตรีประโคมที่พบ จำนวน 6 ชิ้น ต่อมาในสมัยอยุธยา ปรากฏมีเครื่องดนตรี 11 ชิ้น กระทั่งเข้าสู่ช่วงปี พ.ศ.2500-ปัจจุบัน มีการพัฒนาวงมโหรีโคราชดั้งเดิมเปลี่ยนเครื่องดนตรีใหม่ ตัดเครื่องดนตรีดั้งเดิมจนหมด เหลือไว้เพียง “ซอกลาง” เรียกว่า “วงมโหรีโคราชประยุกต์  
ผู้เขียน
585220005-2 นาย ชนาวัฒน์ จอนจอหอ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0