2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ แนวทางการตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายยาเด็กซ์พราโซลในเขตพื้นที่ภาคอีสานตอนบน 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 22 กันยายน 2561 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ ประจำปี 2561 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ 
     สถานที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 22 กันยายน 2561 
     ถึง 23 กันยายน 2561 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2561 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 696-700 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อท าการศึกษา เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวทางการตัดสินใจจ่าย ยารักษาโรคกรดไหลย้อนในกลุ่ม Proton Pump Inhibitors (PPIs) ของแพทย์ในเขตพื้นที่อีสานตอนบน และเพื่อก าหนด แนวทางในการเพิ่มยอดขายยา เด็กซ์พราโซลในเขตพื้นที่ภาคอีสานตอนบน ให้มียอดขายเป็นหน่วยเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 โดย เทียบจากยอดขายของปี 2560 โดยท าการเก็บแบบสอบถามกับแพทย์ที่มีโอกาสรักษาโรคกรดไหลย้อน จ านวน 100 คน หลังจากนั้นได้ท าการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั่วไปเพื่อดูแนวโน้มของตลาด และภาพรวมของธุรกิจในอนาคต วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค วิเคราะห์สถานการณ์การแข่งขันในรูปแบบแรงกดดัน 5 ประการ และวิเคราะห์ปัจจัยเชิงกลยุทธ์การตลาดตามเป้าหมาย จากนั้นจึงน าผลการวิเคราะห์ที่ได้มาประมวลผลและจัดท า แนวทางการตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายยาเด็กซ์พราโซลได้ทั้งสิ้น 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสนับสนุนทางวิชาการ โดยการจัด lecture tour สนับสนุนงานประชุมทั้งในและต่างประเทศ โครงการจัดกิจกรรมแนะน ายาเด็กซ์พราโซล โดยออกบูธตาม โรงพยาบาลเพื่อแนะน าสินค้าและให้ความรู้ทางวิชาการ และโครงการส่งเสริมความรู้ให้พนักงานขาย โดยการจัดอบรมและ ทดสอบความรู้พนักงานขายอย่างสม่ าเสมอ หลังจากด าเนินโครงการแล้วเสร็จ คาดว่ายอดขายของยาเด็กซ์พราโซลในเขตพื้นที่ ภาคอีสานตอนบนจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จากยอดขายเดิมในปี 2560 ค าส าคัญ: แนวทางการตลาด ยาเด็กซ์พราโซล เขตพื้นที่ภาคอีสานตอนบน  
ผู้เขียน
595740241-4 น.ส. พริ้ม โคตรุฉิน [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0