2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ป้าดก๊องลำปาง : สถานะ บทบาท และการสืบทอด 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 8 เมษายน 2559 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ประเด็น : ภูมิปัญญาท้องถิ่รสู่อาเซียน 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม ห้องหลักเมือง ชั้น 3 โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 7 เมษายน 2559 
     ถึง 8 เมษายน 2559 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) ครั้งที่ 2  
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 29-37 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานะบทบาทและการสืบทอดวงป้าดก๊องในจังหวัดลาปาง โดยทาการศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั้งจากเอกสาร และเก็บรวบรวมข้อมูลจากภาคสนาม โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สถานะปัจจุบันจังหวัดลาปางมีวงป้าดก๊องทั้งหมดจานวน 40 วง นักดนตรีจานวน 200 คน อาชีพหลักของนักดนตรีส่วนใหญ่ ได้แก่ อาชีพรับจ้างทั่วไป และเล่นดนตรีเป็นอาชีพรองเนื่องจากรายได้ในการเล่นดนตรีไม่เพียงพอกับรายจ่าย ปัจจุบันมีวิวัฒนาการในการเปลี่ยนแปลงด้านการ ผสมวงมาโดยลาดับ เนื่องจากมีการนาดนตรีตะวันตกเข้ามาผสมผสานในการบรรเลงด้วย โดยนิยมเรียกว่าวงแห่ป้าดก๊องพื้นเมือง และวงแห่ป้าดก๊องประยุกต์ 2) บทบาท พบว่า ในการรับใช้สังคมยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก โดยสามารถใช้ได้ทั้งในงานมงคลและงานอวมงคล เช่น งานประเพณีประจาปีต่างๆ งานฟ้อนผี และงานศพ เป็นต้น 3) การสืบทอด พบว่า ในการสืบทอดส่วนใหญ่มาจากครูและบรรพบุรุษ ในการรับศิษย์นั้นยังมีความเชื่อเหมือนกับในอดีต คือ การขึ้นขันตั้งเมื่อเริ่มเรียนและปลดขันตั้งเมื่อจบหลักสูตร บทเพลงแรกส่วนใหญ่จะเริ่มเรียนด้วยเพลงเขิงและต่อด้วยมอญลาปาง 
ผู้เขียน
567220008-8 นาย อุทาน บุญเมือง [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0